Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อมไร้ท่อ ภาวะที่มีคีโตนคั่งจากเบาหวาน Diabetic ketonacidosis…
ระบบต่อมไร้ท่อ
ภาวะที่มีคีโตนคั่งจากเบาหวาน
Diabetic ketonacidosis
อาการและอาการแสดง
มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง hyperglycemia
ดื่มน้ำบ่อย
ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะรดที่นอน
กินบ่อยและหิวบ่อย
น้ำหนักลด
อ่อนเพลีย
สาเหตุ
เกิดขึ้นได้ทั้งในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1และชนิดที่2 แต่มักเกิดขึ้นในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1ได้ง่ายและบ่อยกว่าเนื่องจากมีภาวะขาดอินซูลินที่รุนแรงกว่า
ปัจจัยชักนำ
การขาดยาลดระดับน้ำตาล
มีโรคที่ก่อภาวะเครียดต่อร่างกาย
ภาวะติดเชื้อ
การได้รับอุบัติเหตุ
หัวใจวาย
โรคหลอดเลือดสมอง
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ได้รับยาบางชนิดเช่น thiazide, steroid
การรักษา
ควรประเมินผู้ป่วยก่อนการรักษา
การบริหารสารน้ำทดแทน ใช้0.9% NaCl
ชั่วโมงที่ 1 ควรให้ 0.9% NaCl 1000 ซีซ
ชั่วโมงที่ 2 ควรให้ 0.9% NaCl 500-1000 ซีซี
ชั่วโมงที่ 3 ควรให้ 0.9% NaCl 500 ซีซ
ชั่วโมงที่ 4 ควรให้ 0.9% NaCl 250 ซีซี
การบริหารอินซูลิน( regular insulin,RI)
หยดเข้าในกระแสเลือดอย่างต่อเนื่อง
ฉีดยาเข้ากล้าม
การบริหารโปแตสเซียมทดแทน
ควรให้potassium ตั้งแต่เริ่มรักษาชั่วโมงแรก
ยกเว้นผู้ป่วยไม่มีปัสสาวะหรือระดับ serum potassium มากกว่า 5 mEq /L
ถ้าระดับ K < 3 mEq /L ให้KCL 20-30 mEq ต่อชั่วโมง
K = 3-4 mEq /L ให้KCL 10 mEq ต่อชั่วโมง
K = 4-5 mEq /L ให้KCL 5 mEq ต่อชั่วโมง
การพิจารณาให้โซเดียมคาร์บอเนต
เมื่อมีอาการรุนแรงเช่น หมดสติ ความดันเลือดต่ำหายใจแบบ kussmual มีระดับserumHCO3<7 mEq/L หรือระดับarterial pH<6.9-7 การให้โซเดียมคาร์บอเนตทำดยผสมโซเดียมคาร์บอเนต 50mEqในNSS/2 100มล.หยด
ทางหลอดเลือดดำใน60นาที
การรักษาปัจจัยชักนำเช่นให้ยาฆ่าเชื้อในบางราย
การรักษาในระยะต่อเนื่อง
พยาธิสภาพ
DKA เป็นภาวะที่ร่างกายมีการขาดอินซูลินอย่างรุนแรงร่วมกับมีฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ตรงข้ามกับอินซูลิน ได้แก่ glucagons,catecholamine,cortisol และgrowth hormone มากเกินไปทำให้มภาวะน้ำตาลในเลือดสูงร่วมกับภาวะกรดเมตะบอลิคจากกรดคีโตนคั่งในร่างกาย
สำหรับปริมาณการขาดอินซูลินมากหรือน้อยจะให้ผลแตกต่างกัน โดยพบว่า ถ้าร่างกายขาดอินซูลินน้อยจะมีผลเพิ่มการสร้างน้ำตาลจากตับจนเกิดhyperglycemic hyperosmolarnonketoticsyndrome (HHNS) แต่ถ้าขาดอินซูลินมากจะเพิ่มการสลายไขมัน(lipolysis)และส่งไปที่ตับสร้างเป็นคีโตนที่พบในภาวะDKA
การวินิจฉัย
plasma glucose > 300-350 มก/ดล. แต่ผู้ที่อดอาหารมานาน ดื่มแอลกอฮอล์ หรือตั้งครรภ์ก็อาจเกิดeuglycemic DKAซึ่งมีplasma glucoseสูงไม่มากได
.มีภาวะกรดเมตะบอลิคชนิดanion gapกว้าง (serum HCO3<15 mEq/L และค่า arterial pH< 7.3)
Anion gap = (Na+) +) –(H–(HCO3-+ Cl-
)
ปัญหาทางการพยาบาล
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำเนื่องจากได้รับการรักษาด้วยอินซูลินและรับประทานอาหารได้น้อย
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดน้ำในร่างกายเนื่องจากมีภาวะออสโมติก ไดร์ยูริ จากการมีระดับน้ำตาลในเลือดสูง
เสี่ยงต่อภาวะหมดสติเนื่องจากมีภาวะการคั่งของกรดคีโตนในร่างกาย