Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินปัสสาวะ ไตวายเฉียบพลัน (Acute kidney injury) (การรักษา (1…
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ไตวายเฉียบพลัน
(Acute kidney injury)
สาเหตุ
Intrinsic renal cause หรือ intra renal cause
3.Postrenal acute kidney injury
1.Prerenal cause หรือ prerenal acute kidney injury
พยาธิสรีรภาพ
1.บทบาทด้านการไหลเวียนเลือดเมื่อไตขาดเลือดไปเลี้ยง ทำให้อัตราการกองของไตลดลงอย่างมากทำให้ไตสร้าง nitric oxide ซึ่งทำหน้าที่ขยายหลอดเลือดลดลงร่วมกับการสร้าง endothelin ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดหดตัวทำให้เซลล์ทิวบูลถูกทำลายและไตวายเพิ่มขึ้น
2.บทบาทของเซลล์ทิวบูล เมื่อเซลล์ทิวบูลไตถูกทำลาย ทำให้เซลล์หลุดออกมาทางท่อไต และอุดกั้นท่อไต ทำให้สารน้ำต่างๆที่ถูกกรองออกมาการไหลย้อนผ่านเซลล์ทิวบูลเข้าไปในร่างกาย ผลที่ตามมาคือทำให้อัตราการกองของไตลดลง ทำให้ไตวายเพิ่มขึ้น
อาการและอาการแสดง
แบ่งเป็น 3 ระยะดังนี้
2.ระยะปัสสาวะออกมาก (Diuretic phase)
3.ระยะฟื้นฟูสภาพ (Recovery phase)
1.ระยะที่มีปัสสาวะออกน้อย (Oliguric phase)
การรักษา
1.การปรับสมดุลน้ำ ผู้ป่วยไตวายเฉียบพลัน อาจมีสภาวะขาดน้ำหรือน้ำเกินในร่างกาย ในกรณีที่ร่างกายขาดน้ำควรให้ทดแทนน้ำ ในปริมาณที่ทดแทนต้องเท่ากับปริมาณที่สูญเสียทางปัสสาวะและทางอื่นๆ
2.โพแทสเซียมสูง ในกรณีที่สูงไม่มาก ให้ลดอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง เช่น ผลไม้ต่างๆ
3.โภชนาการควรให้อาหารที่มีเชอรี่อย่างเพียงพอแต่ในขณะเดียวกันไม่ควรให้โปรตีนมากเกินไปเพราะอาจทำให้ของเสียในเลือดเพิ่มขึ้นได้
4.ภาวะซีดถ้าซีดมากต้องให้เลือดทดแทน
5.การบำบัดทดแทนด้วยไตเทียมหรือการทำ dialysis
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลและ
กิจกรรมการพยาบาล
1.มีภาวะของเสียข้างในร่างกายเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
กิจกรรมการพยาบาล
-สังเกตระดับความรู้สึกตัว เพื่อประเมินภาวะของเสียคั่ง
-ตรวจสอบสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
-ดูแลให้ได้รับยา Lasix ตามแผนการรักษา
-ดูแลให้ได้รับการทำ CRRT,HD,CAPDตามแผนการรักษา
-ดูแลให้พักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อชะลอการเสื่อมของไต
-ติดตามผลการตรวจBUN,Cr,Electrolyte
-ดูแลให้ได้รับอาหารจืด เนื้อน้อย โปแตสเซียมต่ำ แคลอรี่สูง ตามแผนการรักษา
-บันทึกจำนวนน้ำเข้า-ออก ทุก 8 ชม.
2.ติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากภูมิคุ้มกันถูกกดจากภาวะยูรีเมียและได้รับการสอดใส่สายต่างๆเข้าไปในร่างกาย
กิจกรรมการพยาบาล
-ดูแลให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการให้ยา
-ประเมินสภาพ เพื่อหาแหล่งติดเชื้อ โดยการวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง ดูแลความสะอาดปากฟัน ทางเดินปัสสาวะ
-ป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ทางปาก ช่องคลอด ทางเดินปัสสาวะ ทางเดินหายใจ และกระแสเลือด ที่สำคัญคือล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
-ให้การพยาบาลด้วยวิธีปราศจากเชื้อมากที่สุด เช่น การดูเสมหะ การฉีดยา ให้เลือด โดยการเช็ดผิวหนังด้วยแอลกอฮอล์ 70%
-ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติ การผลเพาะเชื้อต่างๆ
-ดูแลความสะอาดสิ่งแวดล้อม
มีภาวะซีดเนื่องจากไตสร้างฮอร์โมน Eryhropoietin ได้น้อยลง
กิจกรรมการพยาบาล
-ให้ผู้ป่วยนอนพักที่เตีย งจำกัดกิจกรรม เพื่อลดการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
-วัดสัญญาณชีพอย่างสม่ำเสมอทุก 2 ชั่วโมง สังเกตชีพจรเร็ว หายใจหอบ ความดันโลหิตต่ำ
-ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีประโยชน์ที่ไม่ขัดกับโรค
-ดูแลให้ PRC 1 unit ตามแผนการรักษา และสังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด เช่น มีผื่นคัน หนาวสั่น
-ประเมินค่าฮีมาโตคริตหลังให้เลือด 4 ชั่วโมง
-ดูแลให้ยาวิตามิน FeSO4,Folic,acid,Eprex ตามแผนการรักษา