Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increase Intracranial Pressure) (การรักษา…
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increase Intracranial Pressure)
สาเหตุ
มีการเพิ่มปริมาณเลือดในสมอง
มีการอุดกั้นของหลอดเลือดดำในสมอง
มีการขยายของหลอดเลือดดำ
การผลิตน้ำหล่อสมองไขสันหลังเพิ่มขึ้นหรือการดูดซึมกลับของน้ำหล่อสมองไขสันหลังลดลง
ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำจากการอุดกั้นของเส้นทางน้ำหล่อสมองไขสันหลัง (obstructive hydrocephalus)
พยาธิสภาพที่ทำให้ปริมาตรเนื้อสมอง
ในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
ภาวะสมองบวม
Vasogenic edema เกิดขึ้นในกรณีที่มีการทำลายโครงสร้างและหน้าที่
ของ blood-brain barrier ทำให้ของเหลวภายในเลือดรั่วเข้าไปอยู่
ในช่องว่างระหว่างเซลล์ (intercellular space)
Cytotoxic edema เป็นการบวมของสมองที่เกิดจากการสะสมของเหลวภายในเซลล์ (intracellular accumulation)
มักเกิดในกรณีที่มีการบาดเจ็บของเซลล์ (cellular injury)
การขาดเลือดหรือออกซิเจนของสมอง
(generalized hypoxic/ ischemic injury)
ปัจจัยเสริม
ได้รับยาขยายหลอดลม
นอนศีรษะต่ำ
การดูดเสมหะ การให้เครื่องช่วยหายใจ
การเกร็งของกล้ามเนื้อ
ภาวะ Hypercapnia
ภาวะเครียด
ภาวะ Hypoxemia
มีไข้สูง มีอาการชัก
พยาธิสภาพ
ความดันในกะโหลกศีรษะ คือ ค่าที่เป็นผลจากการรวมตัวของส่วนประกอบที่อยู่ภายใต้กะโหลกศรีษะอันได้แก่ คือ เนื้อสมอง เลือดและ CSF จากหลักการคือ “ภายใต้กะโหลกศรีษะที่แข็งไม่สามารถยืดขยายได้ ถ้าปริมาตรของส่วนประกอบภายในกะโหลกศีรษะส่วนใดส่วนหนึ่งเพิ่มขึ้น จะมีผลทำให้ปริมาตรของส่วนที่เหลืออยู่ลดลง เพื่อให้ปริมาตรโดยรวมคงที่ มิฉะนั้นจะทำให้เกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น”
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการที่เกิดจาก
ความดันในกะโหลกศีรษะสูงทั่วๆไป
Papilledema
อาเจียนหรือสะอึน
มีการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
อาการปวดศีรษะ
การสูญเสียรีเฟล็กซ์ของก้านสมอง
Pupillary sing (Ocular)
มีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สติ
อาการและอาการแสดงที่เกิด
จากการสูญเสียหน้าที่ของสมองเฉพาะที่
ผิดปกติในการพูด
การอ่อนแรง
การชัก
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากการเลื่อนของสมอง
Early finding
Later finding
การรักษา
Resuscitation
ดูแลเรื่องการหายใจ
ดูแลระบบการไหลเวียน
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
การจัดท่าทางให้ผู้ป่วย
การทำให้อุณหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติ
การทำให้ผู้ป่วยสงบ
การติดตามระดับ IICP
การควบคุมระดับความดันโลหิตและ CPP
การผ่าตัดทางศัลยประสาท
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง (CSF drainge)
การผ่าตัดเพื่อนำก้อนพยาธิสภาพที่เป็นเหตุออก (Resection of mass)
การผ่าตัดเพื่อเปิดกระโหลกศีรษะ (Decompressive cranieatomy)
การให้ยากันชัก
ปัญหาทางการพยาบาลและการพยาบาล
การเคลื่อนไหวบกพร่อง เนื่องจากไม่รู้สึกตัว
แขนขาอ่อนแรง
ทำ Passive exercise
แบบแผนการทำกิจวัตรประจำวันเปลี่ยนแปลง
เนื่องจากไม่รู้สึกตัว กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ไม่สามารถควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อได้
สอนและแนะนำญาติในการดูแลผู้ป่วย
ขาดประสิทธิภาพการทำทางเดินหายใจให้โล่ง เนื่องจากไม่สามารถไอเอาเสมหะออก จากภาวะไม่รู้สึกตัว
ช่วยระบายเสมหะ โดยการเคาะปอด
และทำ postural drainge
ภาวะโภชนาการเปลี่ยนแปลง ได้รับสารน้ำและ
อาหารไม่เพีียงพอ เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถกลืนได้
ให้อาหารทางท่อให้อาหาร
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจาก
ระดับความรู้สึกตัวลดลง ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
เส้นประสาทที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหายใจทำงานบกพร่อง
ให้ O2 ตามแผนการรักษา
ไม่สุขสบาย เนื่องจากปวดศีรษะ
ให้ยาตามแผนการรักษา
การกำซาบเนื้อเยื่อสมองลดลง
เนื่องจากความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ให้ O2 ตามแผนการรักษา
เสี่ยงต่อผิวหนังเสียหน้าที่ เนื่องจากไม่เคลื่อนไหว
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง ป้องกันแผลกดทับ