Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Positive pressure ventilation:PPV การช่วยหายใจแรงดันบวก นางสาวมนธิรา…
Positive pressure ventilation:PPV
การช่วยหายใจแรงดันบวก
นางสาวมนธิรา ยะภักดี รหัส น.ศ 5948100122
วิธีการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
-วาง mask ครอบบนใบหน้าทารก โดยเริ่มจากคาง แล้วครอบให้คลุมถึงจมูก
-ยึด mask ให้แนบกับใบหน้าทารกด้วยนิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ และนิ้วกลางของมือซ้าย สามารถปรับตำแหน่งของศีรษะของทารกให้แหงานเล็กน้อยตามความต้องการด้วยนิ้วมือที่เหลือที่วางอยู่ใต้คางทารก
-จัดศีรษะของทารกให้แหงนเล็กน้อยในท่า sniffing
-ใช้มือข้างที่ถนัดบีบ bag โดยไม่าให้มีเสียงรั่วของแก๊สที่รอยต่อระหว่าวง mask กับใบหน้าของทารก
-เลือก mask ขนาดที่เหมาะสมกับทารกต่อเข้ากับ resuscitation bag
-เวลาบีบต้องสังเกตทรวงอกทารกให้ขึ้นลงในระดับที่เหมือนกับการหายใจปกติ ใน1-2 ครั้งแรกของการบีบ อาจต้องการแรงบีบที่สูงเล็กน้อยและมี inflation time นานกว่าปกติ ควรต่อกับ pressure manometer แรงดันในการบีบใน 1-2 ครั้งแรกจะสูงเล็กน้อยคือ >30 cm H2O การบีบครั้งต่อไป 15-20 cm H2O
-จะต้องมีการตรวจสอบเครื่องมือให้อยุู่ในสภาพพร้อมใช้ได้เสมอ
:40-60 ครั้ง/นาที ควรประเมินอาการทารกทุก 30 วินาที
ในกรณีที่ทารกอาการไม่ดีขึ้น ขณะให้ PPV ตรวจสอบดังนี้
2.)มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกดี สาเหตุมักเกิดจากความเข้มข้นของออกซิเจนต่ำกว่า 100%
1.) ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกอาจเกิดเกิดจาก face mask ไม่แนบชิดกับใบหน้าทารกมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ แรงดันในการบีบน้อยเกินไป แก้ไขโดยจับ face mask ใฟ้แนบชิดกับหน้าทารก จัดศีรษะอยู่ในท่า sniffing position ดูดเสมหะเปิดปากทารกและเพิ่มแรงในการบีบมากขึ้น พิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ
ถ้าทารกมีอาการไม่ดีขึ้น หลังจากให้การ PPV ที่เหมาะสมถูกต้องแล้วเป็นเวลา 30 วินาที ตรวจอัตราการหายใจน้อยกว่า 60 bpm ให้พิจารณาช่วยเหลือขั้นต่อไปด้วยวิธีการนวดหัวใจ
ทารกที่ต้องการ PPV เป็นเวลาหลายนาที ควรพิจารณาใส่ orogastric tube เพื่อช่วยเอาการท้องอืดขัดขวางการเคลื่อนไหวของกระบังลม และป้องกันการสำรองสารคัดหลั่งจากกระเพาะอาหารระหว่างการ PPV
ถ้าทารกมีอาการดีขึ้น อัตราการหายใจมากกว่า 100 bpm หรือเริ่มหายใจได้เอง หรือผิวมีสีชมพูขึ้น และค่า oxygen saturation สูงขึ้นอยู่ในเกณฑ์ปกคิ อาจพิจารณาถอนกาารช่วยหายใจอย่างช้าๆจนแน่ใจว่าทารกสามารถหายใจได้เองอย่างเพียงพอ
ข้อบ่งชี้การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
อัตราเต้นหัวใจ <100%
มีอาการเขียวทั้งได้รับออกซิเจนความเข้มข้น 100%
ตัวเขียวและ oxygen saturation ต่ำ
ขณะได้ 100% oxygen
ทารกไม่หายใจหรือหายใจเฮือก
ลักษณะสำคัญของอุปกรณ์ที่ใช้ในการช่วยหายใจ
ขนาดของหน้ากากที่เหมาะสม
-ควรมีหลายขนาด (เบอร์ 0 ทารกคลอดกอนกำหนด, เบอร์ 1 ทารกครบกำหนด)
– ครอบตั้งแต่คาง ปากและจมูก
– ไม่กดตา
-แนบสนิทกับหน้าของทารก
การเตรียมอุปกรณ์
-เลือกขนาดของหน้ากาก
– ต่ออุปกรณ์ที่ใช้เข้าด้วยกัน และต่อกับแหล่งจ่ายก๊าซออกซิเจน
-ตรวจสอบขอบของหน้ากากว่าสามารถใช้งานได้ดี
ปริมาณลมที่ทารกต้องการเทียบกับขนาดของ bag
– มักไม่เกิน 30 ซม.น้้ำ
– Breath size (tidal volume) of an infant=5-8 ml/kg
อัตราการช่วยหายใจระหว่างการช่วยกู้ชีพทารก
– 40-60 ครั้ง/นาที
– วิธีนับ บีบ..........สอง.............สาม.............บีบ...........สอง............สาม..........บีบ
ข้อปฏิบัตในกรณีที่ทารกไม่ตอบสนองต่อการช่วยหายใจแรงดันบวก
“MR SOPA”
S = Suction mouth and nose ตรวจดเสมหะที่คั่งในปากและจมกูและทำการดูดออกด้วยลูกยางหรือ สายยางดูดเสมหะ
O = Open mouth เปิดปากทารกเล็กน้อยและยกคางขึ้นมาด้านหน้า
R = Reposition airway จัดตำแหน่งคอและศีรษะของทารกอีกครงให้อยู่ในท่าเงยเล็กน้อย
P = Pressure increase ค่อยๆเพิ่มแรงบีบทกุๆ 2-3 ครั้งจนกว่าจะฟังได้ยินเสียงลมเข้าปอดและ เห็นทรวงอกยกขณะบีบ
M = Mask adjustment ครอบหน้ากากและกดให้แนบสนิกับใบหน้าของทารกเพื่อไม่ให้มีลมรั่วจากด้านข้าง
A = Airway alternative พิจารณาใส่ท่อ่ช่วยหายใจ หรือ laryngeal mask ขึ้นกัประสบการณ์ใน การใช้และข้อบง่ชี้ของทารก
อุปกรณ์แบบต่าง ๆ ที่ใช้หายใจในทารกแรกเกิด
Self-inflating bag
คลายตัวได้เองภายหลังการถูกบีบ และสามารถดึงก๊าซเข้าสู่ bagได้เอง
– ความดันสูงสุดขณะหายใจเข้า (PIP) ขึ้นกับแรกในการบีบ bag
Flow-inflating bag (anesthesia bag)
สามารถให้ออกซิเจนได้โดยตรงถึงแม้ไม่บีบ
การปรับเปลี่ยน PIP ควบคุมโดยอัตราการไหลของก๊าซที่เข้าสู่ bag
สามารถให้ออกซิเจนความเข้มข้นต่างๆกันได้ ขึ้นกับแหล่งจ่ายก๊าซ
T-piece resuscitator
ควบคุมโดยอัตราการไหลของก๊าซ (flow control)และมีการจำกัดความดัน (pressure limited) สามารถปรับ PIP และ PEEP ได้ตามความต้องการ