Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การทำสูติศาสตร์หัตถการเพื่อช่วยคลอดทางช่องคลอดและการผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท…
การทำสูติศาสตร์หัตถการเพื่อช่วยคลอดทางช่องคลอดและการผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง (นางสาวกมลทิพย์ สกุลเตียว 5948100089)
-
Forceps delivery
ความหมาย
เพื่อช่วยคลอดทารกในกรณีทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขันเพื่อต้องการให้เกิดการคลอดเร็วขึ้น หรือกรณีที่มารดาไม่มีแรงเบ่งคลอด โดยการใช้คีมซึ่งมี 2 ชิ้น คือชิ้นด้านซ้ายและชิ้นด้านขวา ประกบบริเวณศีรษะทารก แล้วแพทย์ออกแรงดึงเพื่อช่วยคลอด
-
-
การช่วยคลอดด้วยคีมคีบ
แพทย์ต้องประเมินก่อนแล้วว่าไม่มีภาวะผิดสัดส่วนระหว่างขนาดทารกกับขนาดอุ้งเชิงกรานของแม่ คีมช่วยคลอดเป็นอุปกรณ์ทำจากโลหะ ลักษณะคล้ายช้อน 2 อันมาประกบกัน ดังนั้นคีฯจะประกอบด้วยคีมด้านซ้ายและด้านขวา แยกใส่เข้าไปในช่องคลอด โดยวางไว้ข้างๆ ศีรษะทารกทีละข้าง เมื่อได้ตำแหน่งที่เหมาะสม ด้ามจับจะเข้ามาประกบกันพอดี แล้วแพทย์จึงเริ่มดึงด้ามคีมเพื่อช่วยคลอดทารก
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
มีการฉีกขาดของช่องทางคลอดมารดาเพิ่มมากขึ้น หรือการฉีกขาดของปากมดลูกมารดา หากวางคีมหรือประกอบคีมไม่เหมาะสม
-
-
-
Vacuum extraction
ความหมาย
ใช้ในสตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีแรงเบ่งเพียงพอที่จะช่วยดันทารกออกมาจากมดลูกหรือทารกในครรภ์มีหัวใจเต้นผิดจังหวะ แพทย์ต้องรีบให้คลอด ซึ่งวิธีการนี้จะใช้ถ้วยโลหะสแตนเลส หรือเป็นถ้วยยางซิลิโคน เล็กๆ ไปครอบที่ศีรษะทารก แล้วมีการต่อสายเข้ากับเครื่องที่เหนี่ยวนำให้เกิดภาวะสุญญากาศที่ศีรษะทารก แพทย์จะทำการดึงสายที่ต่อกับถ้วย พร้อมๆ กับการเบ่งของมารดาขณะมีมดลูกหดรัดตัว เป็นการเสริมแรงเบ่งกับมารดา
-
-
-
-
-
Caesarean section
-
ชนิดของการลงมีด
-
-
-
Invert T-shape หรือ J-shape Caesarean section การผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของมดลูกในแนวขวาง ขยายแผลผ่าตัดโดยลงแผลผ่าตัดแนวตรงเพิ่มขึ้นเป็นรูปตัวทีคว่ำ หรือแผลเฉียงขึ้นจากมุมแผลเดิมเป็นรูปตัวเจ
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
-
ภาวะแทรกซ้อนระยะยาว เช่น เพิ่มความเสี่ยงต่อการแตกของมดลูกในครรภ์ต่อไป เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะรกเกาะต่ำในครรภ์ต่อไป
-
-