Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การสอนทักษะการเขียน (8.1เเนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนทักษะการเขีย…
บทที่ 8 การสอนทักษะการเขียน
8.1เเนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนทักษะการเขียน
8.1.1องค์ประกอบในการเขียน เเฮร์ริส ฮีตันเเละเฮดจ์ ให้องค๋ประกอบที่สำคัญดังนี้
1.เนื้อหาสาระที่จะใช้เขียน คำนึงถึงเนื้อหาประเด็นที่ต้องการสื่อ
2.ทักษะทางไวยากรณ์ การใช้ไวยากรณ์ที่ถูกต้อง
3.ลีลาภาษา การเลือกโครงสร้าง ภาษาให้เหมาะสม
4.กลไกในการเขียน คือ สิ่งที่ช่วยในการเขียนอ่านเข้าใจง่ายขึ้น
5.รูปแบบ การเรียงลำดับเนื้อหา
8.1.2องค์ประกอบของถวามสามารถในการเขียน
"ลาโด" เป็นความสามารถที่จะใช้ตัวอักษรอย่างมีความหมายเเละยังสามารถเรียบเรียงข้อความจากลักษณะโครงสร้างภาษาที่ใช้แบบฟอร์มของการเขียนให้ตรงกับจุดมุ่งหมายนั้นๆ
8.1.3ระดับความสามรถในการเขียน เเเบ่งเป็น 3 ระดับ
ระดับสื่อสาร
ระดับเรียงความ
ระดับลีลาการเขียน
8.1.4การฝึกการเขียน
1.การเขียนเพื่อฝึกหัดสิ่งที่เรียนไปเเล้วให้เกิดความเเม่นยำ
2.การเขียนบทสนทนา
3.การเขียนตามคำบอก ฝึกให้ผู้เรียนตั้งใจฟังเเละพยายามเขียนให้ถูกต้อง
4.การเขียนบรรยายภาพหรือสิ่งของ
5.การเขียนเรียงความ
8.1.5ขั้นตอนการสอนการเขียนไว้ ของ'ฮาร์เมอร์'
1.จัดหาคำศัพท์เเละโครงสร้างทางภาษาที่จำเป็นสำหรับให้ผู้เรียนใช้ในการเขียน
2.ผู้สอนต้องเตรียมกิจกรรมล่วงหน้า
8.1.6ข้อควรคำนึงในการสอนการเขียน
1.ทักษะการเขียนเป็นทักษะที่ต่อจากกระบวนการเรียนรู้ในการฟังเเละพูด
2.การเขียนเป็นลักษณะที่ข่วยในการสนับสนุนให้ผู้เรียนเรียนรู้เเละจำสิ่งที่เรียนได้
3.ทักษะการอ่านเเละการเขียนมีความสัมพันะ์กันสนับสนุนซึ่งกันเเละกัน
4.ผู้เรียนทราบจุดประสงค์เเละขอบข่ายของผู้เรียน
8.2กระบวนการเรียนการสอนทักษะการเขียน
8.2.1การเขียนเเบบคัดลอก
ข้อดี ฝึกการเรียนรู้การสะกดคำ การเขียนประโยคเเละการฝึกอ่านในใจไปพร้อมกัน
ข้อเสีย บางกิจกรรมนักเรียนอาจลอกจำข้อความหรือประโยคโดยไม่เข้าใจความหมาย
8.2.2การเรียนเเบบควบคุม
เป็นแบบฝึกหัดที่เน้นในเรื่องของความถูกต้องของรูปแบบ
8.2.3การเขียนเเบบกึ่งควบคุม
ผู้เรียนมีอิสระในการเขียนมากขึ้น
8.2.4การเขียนเเบบอิสระ
เป็นการเขียนที่ไม่มีการควบคุม ผู้เรียนมีอิสะเเละเเสดงความคิดเห็นในการเขียน