Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนทักษะการอ่าน (การกําหนดจุดมุ่งหมายการอ…
บทที่ 7แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนทักษะการอ่าน
การจําแนกประเภทการอ่าน
การอ่านออกเสียง (Oral Reading)
เป็นการอ่านเพื่อฝึกความถูกต้อง (Accuracy) และความคล่องแคล่ว (Fluency)
การอ่านในใจ (Silent Reading)
เป็นการอ่านเพื่อรับรู้และทําความเข้าใจในสิ่ง ที่อ่าน เป็นการอ่านอย่างมีจุดมุ่งหมาย
ระดับความเข้าใจในการอ่าน
แวลเล็ตและดิสซิค (Vallette and Disick)
ระดับการถ่ายโอน (Transfer)
ระดับสื่อสาร (Communication)
ระดับความรู้ (Knowledge)
ระดับการวิเคราะห์วิจารณ์ (Criticism)
ระดับทักษะกลไก (Mechanical skills)
เดอซองท์ (Dechant)
ระดับความเข้าใจตามตัวอักษร (Literal Comprehension)
ระดับการเรียบเรียงลําดับข้อความ (Reorganization)
การสรุปความจากการอ้างอิง (Inference)
ระดับการประเมินผลหรือระดับวิพากษ์วิจารณ์ (Evaluation or Critical Reading)
ระดับความซาบซึ้ง (Appreciation)
ระดับความเข้าใจขั้นผสมผสาน (Integrative Comprehension)
การกําหนดจุดมุ่งหมายการอ่าน
อ่านเพื่อหาความรู้
อ่านเพื่อความบันเทิง
อ่านเพื่อจุดประสงค์เฉพาะแต่ละครั้ง
อ่านเพื่อทราบข่าวสาร
การสอนหลักการอ่าน
เกบฮาร์ด (Gebhard)
การฝึกฝนการอ่าน
บทอ่านเป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจของผู้เรียน
ความซับซ้อนของภาษาช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้การอ่าน
การเสริมข้อมูลเพิ่มเติมโดยผู้สอนสามารถให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
การอ่านเป็นกลุ่มคําช่วยให้การจับใจความดีขึ้น
สื่อการสอนช่วยเพิ่มความเข้าใจในการอ่าน
บรรยากาศในการเรียนการสอนควรเป็นบรรยากาศที่สบาย ๆ ไม่เคร่งเครียด
องค์ประกอบที่ควรคํานึงถึงในการสอนอ่าน
ตามที่ วิลเลี่ยม (William)
ความรู้เรื่องภาษา
ความรู้รอบตัวทั่วไป
ความรู้ในระบบการเขียน
ความสามารถในการตีความ
เหตุผลในการอ่านและวิธีอ่าน
องค์ประกอบสําคัญที่ส่งเสริมการอ่าน
กู๊ดแมน และเนล (Goodman and Niles)
ความรู้ทางภาษา (Linguistic Knowledge)
ความสมบูรณ์ของเนื้อเรื่องที่ได้อ่าน (Conceptual of Semantic)
ประสบการณ์และความรู้เดิม (Schema) ompleteness)
ความสามารถในการวิเคราะห์โครงสร้างของเนื้อเรื่องที่ได้อ่าน (Text Schema)