Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจล้มเหลว Congestive heart failure (อาการและอาการแสดง (อาการเหนื่อย…
ภาวะหัวใจล้มเหลว Congestive heart failure
พยาธิสภาพ
หัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจหัองล่างซ้ายบีบตัวลดลงส่วนใหญ่เกิดจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอในระยะแรกหัวใจจะปรับตัวโดยระบบประสาทซิมพาเทติกจะทำงานเพิ่มขึ้น โดยช่วยกระตุ้นให้ระบบเรนิน-แองลิโอเทนซินทำหน้าที่เพิ่มขึ้นและหัวใจมีขนาดเพิ่มขึ้นหากยังคงมีพยาธิสภาพของโรคดำเนินต่อไปจะทำให้กลไกการปรับตัวชดเชยล้มเหลว ทำให้เนื้อเยื่อของอวัยวะต่างๆได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอผู้ป่วยจะมีอาการผิดปกติทั้งในระบบหัวใจและหลอดเลือด สมอง กล้ามเนื้อ และระบบปัสสาวะ เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวลดลง จะทำให้ปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลงจะส่งผลให้เลือดเหลือค้างในหัวใจห้องล้างซ้ายมากขึ้นความดันเลือดในหัวใจห้องล่างซ้ายจึงสู้งขึ้น ดังนั้นหัวใจห้องบนซ้ายจึงบีบเลือดส่งมายังหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง ปริมาตรเลือดและความดันเลือดในหัวใจห้องบนซ้ายจึงสูงขึ้นเรื่อยๆเลือดจากปอดที่ฟอกแล้วก็จะไหลเข้าสู้หัวใจห้องบนซ้ายน้อยลงเป็นผลให้ความดันเลือดในหลอดเลือดฃอยที่ปอดสูงขึ้นเมื่อแรงดันของๆเหลวในหลอดเลือดฃอยที่ปอดสูงขึ้นทำให้ของเหลวจากหลอดเลือดฃอยที่ปอดเข้าสู้ถุงลม ทำให้ผู้ป่วยมีภาวะน้ำท่วมปอด หอบเหนื่อย ไอ และ เขียว
หัวใจห้องล่างขวาล้มเหลว มีอาการหัวใจเต้นเร็วการเต้นของชีพจรเบาบ้างแรงบ้างสลับกัน (Pulsus alternans) ผิวหนังเย็นและชื่นเนื่องจากหลอดเลือดหดตัวความดัน ซิกโตลิกลดลงแต่ความดันไดเเอสโตลิกสูงขึ้น ฟังหัวใจได้เย็นเสียงงคล้ายม้าควบ (Gallop rhythm) จะได้ยินงชัดเจนบริเวณลิ้นไมตรัลเสียงนี้เกิดจากมีแรงต้านขนะเลือดถูกส่งเข้าสู่หัวใจห้องล่าง ผู้ป่วยจะมีอาการทางสมอง เช่น กระสับกระส่าย สับสน ความจำเสื่อม วิตกกังวล นอนไม่หลับ งุนงงเป็นลมหมดสติ เป็นต้น มีอาการเหนื่อยล้า กล้ามเนื้ออ่อนแรงไม่สา่มารถทำกิจกรรมต่างๆได้ปกติมีปัสสาวะออกน้อย มีอาการบวมตับโต ม้ามโต ลำไส้บวม มีอาการแน่นจุกเสียดบริเวณใต้ชายโครงหรือลิ้นปี เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องนานหลอดเลือดดำที่คอโป่งพองปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน
สาเหตุ
ลิ้นหัวใจ
valvular stenosis
valvular regurgitation
ที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพกล้ามเนื้อหัวใจ
Cardiomyopathies
Myocarditis
CC
จังหวะการเต้นของหัวใจ
อื่นๆ
Pulmonary Hypertension
Shunt เชน ASD , VSD
Hypertension
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
หัวใจห้องขวาล้มเหลว(Right-sided heart) ทำหน้าทีรับเลือดจากร่างกายแล้วสูบฉีดไปยังปอดเพื่อฟอกเลือด หากหัวใจห้องขวาล้มเหลวเกิดอาการบวมของเท้า
หัวใจห้องซ้ายล้มเหลว (Left-sided heart failure) ทำหน้ารับเลือดที่ฟอกจากปอดและสูบฉีดไปเลี้ยงทั่วร่างกายหัวใจห้องนี้แข็งแรงกว่าหัวใจห้องอื่นๆ หากหัวใจห้องนี้ล้มเหลว ร่างกายไม่สามารถสูบฉีดเลือด ทำให้เลือดคั่งในปอดเกิดภาวะที่เรียากว่า ปอดบวมน้ำ
systolic dyrfuntion :หัวใจห้องล่างไม่สามารถบีบตัวส่งเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆได้เพียงพอ
Diastolic dyrfuntion :หัวใจห้องล่างซ้ายไม่สามารถคลายตัวได้เต็มที่ทำให้เลือดที่เข้าสู้หัวใจห้องล่างซ้ายมีจำนวนน้อยส่งผลให้ cardiac output ]f]'
Low output ปริมาณเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆไม่เพียงพอ
High outout syndrome มีปริมาณเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆในระบบปกติ หรือมากกว่าปกติ แต่ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายที่มากขึ้น
ความหมาย
ภาวะที่เนื้อเยื่อหัวใจได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอเนื่องจากเลือดไหลผ่านหลอดเลือดเเดงโคโรนารีได้ชาและลดน้อยลงซึ่งมักเกิดจากหลอดเลือดโคโรนารีตีบแคบและแข็งผิดปกติ
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค
ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้
กรรมพันธุื
อายุและเพศ
ภาวะหัวใจขาดเลือดมักพบในคนอายุ 40 ปีขึ้นไปการตีบตันของหลอดเลือดที่ไปดเลี้ยงหัวใจมักพบบ่อยและรุนแรงในผู้สูงอายุและภาวะหัวใจขาดเลือดจะสูงขึ้นมากหลังหมดประจำเดือน
เชื้อชาติ
ภาวยะหัวใจขาดเลือดพบในคนผิวขาวมากกว่ากลุ่มอื่นๆ แต่อันตรายจากภาวะหวใจขาดเลือดสูงสุดในคนผิวดำ
ปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนได้
สิ่งแวดล้อม
การสูบบุรี่
ถ้าสูงมีโอกาสเกิด
ภาวะหัวใจขาดเลือดมากกว่าคนปกติ 2-7 เท่า
ผู้ที่มีระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูงกว่า 250 mg/dL
การออกกำลังกาย
ปัจจัยชักนำ
ความอ้วน
มักเป็นโรคเบาหวาน ความดันเลือดสูง และไขมันในเลือดสูง
ภาวะเครียด
เนื่องจากขณะที่เกิดภาวะเครียดร่างกายจะหลั่ง แคทีโคลามีน ซึ่งทำให้เกล็ดเลือดจับตัวกันเพิ่มมากขึ้นและอาจชักนำให้เกิดภาวะหลอดเลือดหดตัวด้วย
เบาหวาน
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจขาดเลือดสูงกว่าผุ้ที่มีระดับน้ำตาลปกติเนื่องจากหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานมีการเสื่อมของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเร็วกว่าปกติ ทำให้หลอดเลือดเเดงตีบ และแข็งมากขึ้น
อาการและอาการแสดง
อาการรบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย (dependent part)
เช่นเท้า ขา เป็นลักษณะบวมกดบุ๋ม
อาการเหนื่อย (dyspnea)
vอาการเหนื่อยขณที่ออกแรง (dyspnea on exertion)
อาการเหนื่อย หายใจไม่สะดวกขณะนอนราบ (orthopnea)
หายใจไมาสะดวกขณะนอนหลับและต้องตื่นขึ้นเนื่องจากอกการหายใจไม่สะดวก (paroxysmal nocturnal dyspnea, PND)
อ่อนเพลีย (fatigue)
เนื่องจากการที่มีเลือดไปเลี้ยงร่างกายลดลง ทำให้สมรรถภาพของร่างกายลดลง
แน่นท้องท้องอืด
เนื่องจากตับโต จากเลือดคั่งในตับ (hepatic congestion)มีน้ำในช่องท้อง อาจพบอาการคลื่นไส้เบื่ออาหารร่วมด้วย
หัวใจเต้นเร็ว(tachycardia) หายใจเร็ว (tachypnea)
เล้นเลือดดำที่คอโป่งพอง (jugular vein distention)
เสียงปอดผิดปกติ (lung crepitation) จากการที่มีเลือดคั่งในปอด(pulmonary congestion)
เสียงหายใจวิ๊ด (wheezing)
เนื่องจากมีการหดตัวของหลอดลม (bronchospasm)
crepitation
พบในผู้ป่วยน้ำเกิน
บวมกดบุ๋ม
การรักษา
ลด physical activity และเพิ่มออกซิเจนเเก่เนื้อเยื่อร่างกาย
ท่านอน semi-fowle เพื่อลดปริมาณเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ
ให้ออกซิเจน
ให้นยานอนหลับ (chloral hydrate) ในรายที่กระวนกระวาย
ควบคุมอุณหภูมิให้ปกติ
รักษา/ป้องกันการติดเชื้อ
จำกัดน้ำและเกลือ
ยาควบคุมหัวใจวาย
ยากลุ่ม renin-angiotensin-aldosterone system (RAAS)
blockers
ACE-I
Captopril ,EnalaprilRamipril, Lisinopril ,Trandolapril
ARB
Candesartan, Valsartan, Losartan
MRA
Spironolactone
ยาขับปัสสาวะ
Furosemide , Hydrochlorothiazide , Aldactone, Diamox
ยากลุ่ม beta-blocker
Bisoprolol,Carvedilol, Metoprolol succinate , Nebivolol
ยากลุ่ม cardiac glycoside
Digitalis
ยาเพิ่มแรงบีบตัวหัวใจอื่น ๆ
aspirin clopidogrel
การผ่าตัด และการสวนหัวใจ
การผ่าตัดปลูกถ่ายหัวใจ (heart transplantation)
การผ่าตัดเพื่อรักษาหัวใจล้มเหลวอื่นๆ
การแก้ไขความผิดปกติทาง metabolic เช่น BS ต่ำ , Ca ต่ำ , Mg ต่ำ ,ภาวะเลือดเป็นกรด , ซีด เป็นต้น
ปัญหาทางการพยาบาล
เนื้อเยื่อได้รับเลือดเลี้ยงไม่เพียงพอเนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง Low cardiac output จากประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลงจากการมีพยาธิสภาพที่หลอดเลือดหัวใจและภาวะหัวล้มเหลว
ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง (impaired gas exchange)เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
มีภาวะน้ำเกินเนื่องจากกลไกชดเชยของไต และเลือดคั่งในหลอดเลือด/ขาดการควบคุม
ความสามารถทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากประสิทธิภาพหัวใจสูบเสียดเลือดได้ลดลง
การพยาบาล
ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
ให้ PT ก่อนและหลังทำกึจกรรม/บอกกิจกรรมที่ทำได้และสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ประเมินการหายใจทุก 2 ชม./ฟังเสียงปอด/ประเมินการทำงานของหัวใจ/V/S ทุก 2-4 ชม.
ประเมินการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะส่วยปลายทุก 8 ชม.
ประเมิน Mental status ที่บ่งบอกว่าอาจมีภาวะสมองขาดออกซิเจน
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา/ติดตามผลเลือด
ชั่งน้ำหนักทุกวันเวลาเดิม
ประเมินอาการบวมของแขนขา สังเกตการโป่งพองของหลอดเลือดที่คอ
จำกัดน้ำ โซเดียม บันทึก I/O
จัดอาหารอ่อนย่อยง่าย/บันทึกจำนวนอาหารที่ผู้ป่วยทาน
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับโรค ชี้ให้เห็นความสำคัญของการมาพบแพทย์
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
Absolute bed rest /นอนศีรษะสูง
V/S ประเมินความรู้สึกตัว
ให้ออกซิเจนและยาตามแผนการรักษา
ติดตาทผล ABGS เพื่อเฝ้าระวังภาวะขาดออกซิเจน
จัดอาหารที่ส่งเสริมการขับถ่าย
หากมีการสอดใส่สาย ป้องกันการอักเสบติดเชื้อ
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุก 8ชม.สังเกตรูเปิดท่อปัสสาวะสังเกตสี ลักษณะของปัสสาวะรวมถึงปัสสาวะที่ออกต่อชั่วโมง
การดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ ให้โอกาศในการซักถาม และให้มีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง