Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินปัสสาวะ ไตวายเฉียบพลัน (Acute kidney injury) (การพยาบาล…
ระบบทางเดินปัสสาวะ ไตวายเฉียบพลัน (Acute kidney injury)
สาเหตุ
2.Intrinsic acute failure สาเหตุเกิดจากเนื้อไต เช่นโรคที่เกิดจากเส้นเลือดใหญ่ เส้นเลือดขนาดเล็ก หรือโรคที่เกิดจากทุบุล(ATN) ซึ่งเกิดจากเลือดไปเลี้ยงไตลดลง การได้รับสารเคมีหรือยาที่มีผลต่อไตโดยตรง
3.Postrenal acute kidney injury เกิดจากการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนล่างของไต ซึ่งมีสาเหตุจาก ต่อมลูกหมากโต(Bening prostatic hypertrophy) นิ่ว(Renal stone) เนื้องอก ก้อนเลือด
1.Prerenal acute kidney injury คือ ความผิดปกติของการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไตหรือการกำซาบของเนื้อเยื่อไตลดลง เช่น ภาวะขาดน้ำ ทำให้ความดันโลหิตลดลง ภาวะหัวใจวายและโรคตับแข็ง ทำให้ cardiac output ลดลง และการได้รับยา NSAID
การรักษา
ภาวะเลือดเป็นกรด โดยทั่วไปไม่ต้องรักษาถ้าระดับ bicarbonate ในเลือดสูงกว่า 15 mEq/Lแต่ถ้า bicarbonate ต่ำกว่านี้ควรพิจารณาให้ sodium bicarbonate
โภชนาการ ควรให้อาหารที่มีแคลอรี่อย่างเพียงพอ ไม่ให้โปรตีนมากเกินไป อาจทำให้ของเสียในเลือดเพิ่มขึ้น ให้โปรตีน 0.5 กรัม/กก./วัน
โพแทสเซียมสูง ให้ลดอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง เช่น ผลไม้ หรือในรายฉุกเฉินอาจให้อินซูลินทางหลอดเลือดดำ
ภาวะซีด ต้องให้เลือดหรือให้ฮอร์โมน erythropoietin ที่ช่วยเสริมสร้างเม็ดเลือดแดง
การปรับสมดุลน้ำ กรณีร่างกายขาดน้ำ ควรให้ทดแทนเท่ากับที่สูญเสีย และในกรณีน้ำเกิน ต้องจำกัดปิมาณน้ำดื่มและเกลือที่ได้รับและให้ยาขับปัสสาวะ
หารบำบัดแทนด้วยไตเทียม หรือการทำ dialysis
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับอาหารจืด เนื้อน้อย โปตัสเซียมต่ำ แคลลอรีสูง ตามแผนการรักษาและรับประทานอาหารที่มีเกลือต่ำเพื่อลดการคั่งของน้ำและโซเดียม
ป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ทางปาก ช่องคลอดทางเดินปัสสาวะ ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล รักษาความสะอาดปากและฟัน
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขับปัสสาวะและยาขับโปตัสเซียมตามแผนการรักษาและดูแลการทำ CRRT,HD,CAPD ตามแผนการรักษา
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ผ่อนคลายและปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลเวลาเดียวกัน
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งและดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ติดตามผลการตรวจ BUN,Cr,Electrolyte,lab Potassium,Na และผลเพาะเชื้อ
ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เพื่อประเมินภาวะขาดออกซิเจน ภาวะของเสียคั่ง การทำหน้าที่ของระบบประสาท
สังเกตอาการบวมและบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออก เพื่อประเมินสมดุลน้ำของร่างกาย
จัดท่านอนศีรษะสูง สังเกตภาวะ Cyanosis สังเกต O2 sat ทุก 1-2 ชั่วโมง
ปัญหาการพยาบาล
ติดเชื้อง่ายเนื่องจากภูมิคุ้มกันถูกกดจากภาวะยูรีเมียและได้รับการสอดใส่สายต่างเข้าไปในร่างกาย
มีภาวะซีด เนื่องจากไตสร้างฮอร์โมน Erythropoietin ได้น้อยลง
มีภาวะของเสียคั่งในร่างกาย เนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
มีภาวะไม่สมดุลของน้ำและอิลคโทรลัยต์ เนื่องจากไตเสียหน้าที่
มีภาวะหัวใจล้มเหลวเนื่องจากน้ำคั่งในปอด
พักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่คุ้นเคย
พยาธิสภาพโรค
1.การไหลเวียนเลือด เมื่อไตขาดเลือดไปเลี้ยง ทำให้อัตราการกรองของไตลดลง ไตสร้าง nitric oxide ที่ทำหน้าที่ขยายหลอดเลือดลดลง ทำให้เซลล์ทิวบูลถูกทำลายและไตวายเพิ่มขึ้น
2.เซลล์ทิวบูล เมื่อเซลล์ทิวบูลถูกทำลาย เซลล์จะหลุดออกมาท่างไตและอุดกั้นท่อไต ทำให้สารน้ำที่ถูกกรองไหลย้อนผ่านเซลล์ทิวบูล ทำให้อัตราการกรองของไตลดลง ทำให้ไตวายเพิ่มขึ้น
อาการและอาการแสดง
2.ระยะปัสสาวะออกมาก (Diuretic phase) ไตค่อยๆฟื้นตัว มีปัสสาวะมากขึ้น ระดับBUN,Cr ค่อยๆลดลง มีการสูญเสียน้ำ โซเดียมและโปตัสเซียม ปัสสาวะ 4-5 ลิตร/วัน
3.ระยะฟื้นฟูสภาพ (Recovery phase) เข้สู่ภาวะปกติ ระดับBUN,Cr กลับคืนสู่ภาวะปกติ อัตราการกรองใกล้เคียงภาวะปกติ
1.ระยะที่มีปัสสาวะออกน้อย (Oliguric phase) ไม่มีปัสสาวะ ไตไม่สามารถขับของเสียออกได้ มีการคั่งของ BUN,Cr เกลือแร่และกรดในร่างกายคั่งค้างในกระแสเลือด ระมัดระวังการให้สารน้ำ เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการบวม มีน้ำท่วมปอดและภาวะหัวใจล้มเหลว