Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง Compartment Syndrome (อาการและอาการแสดง…
ภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง
Compartment Syndrome
สาเหตุ
การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ
อุบัติเหตุ
การได้รับแรงกระแทก
พยาธิสภาพ
เมื่อร่างกายได้รับบาดเจ็บหลอดเลือดจะมีการขยายตัว
หลอดเลือดมีการเสียควาทสามารถในการซึมผ่านมีการรั่วของโปรตีนซึมผ่านเข้าไปยังพื้นที่ว่างระหว่างเนื้อเยื้อ
ความดันในกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้นทำให้เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดลงเกิดการขาดเลือดและออกซิเจน
อาการและอาการแสดง
บวม Swelling
ชา Paraesthesia
ปวด Pain
ซีด Pallor
vอัมพาต Paralysis
Infection การติดเชื้อเกิดในผู้ป่วยที่มี Open fracture หรือมีการผ่าตัดจัดกระดูก ทำให้เสี่งต่อการติดเชื้อ
Avascular necrosis การเกิดกระดูกตายจากการขาดเลือดมาเลี้ยง
ความหมาย
ภาวะที่มีการเพิ่มของความดันในช่องระหว่างมัดของกล้ามเนื้อระยางทั้งส่วนบนและส่วนล่างของร่างกายภายในเนื้อที่จำกัด ส่งผลกระทบต่อการไหลเวียนของเลือด และการทำงานหน้าที่ของเนื้อบริเวณนั้น
หลักการเบื่องต้นในการรักษา
การดึงถ่วงน้ำหนัก (traction)
continuous traction ควรดึงถ่วงน้ำหนักตลอดเวลา
Correct body alignment รักษาแนวของลำตัวให้ถูกต้อง
prevent friction โดยลดเเรงเสียดทาน
counter traction เป็นการใช้เเรงด้านในทิศทางตรงข้ามกับแนวที่ดึงเข้า traction
Line of pull แนวการดึงผ่านตำแหน่งที่กระดูกหัก
การใส่เผือก Cast ใช้ในกรณีกระดูกหักไม่มีบาดแผล
Skeletal traction เป็นการดึงถ่วงน้ำหนักโดยตรงที่กระดูก
ปัญหาทางการพยาบาล
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีแก่ผู้ป่วยและญาติและอธิบายถึงความจำเป็นที่จะต้องรักษาโดยการผ่าตัด
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดระบายความรู้สึกต่างๆเกี่ยวกับความวิตกกังวล ความกลัววโดยเป้นผู้ฟังที่ดีช่วยแยกแยะ/ชี้แจงปํญหาและความกลัวของผู้ป่วย และเปิดโกกาสให้ผู้ป่วยซักถามข้อสงสัยต่างๆทั้งในระยะก่อนผ่าตัดและหลังผ้าตัด
แนะนำผู้ป่วยพูดคุยกับผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดไปชนิดเดียวกันซึ่งประสบความสำเร็จในการรักษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นประสบการณ์ต่างๆเพื่อให้กำลังผู้ป่วย
ขาดความรู้เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำการออกกำลังกายก่อนผ่าตัด โดยอธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึงความสำคัญของการออกกำลังกายก่อนผ่าตัดจะช่วยให้ฟื้นได้เร็ว เพราะการเคลื่อนไหวของข้อจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตให้ดีขึ้น
ดูแลผิวหนังและการเปลี่ยนท่าทางในผู้ป่วยที่ต้องนอนอยู้บนเตียงหรอต้องอยู้บนรถเข็นนานๆ เพื่อป้องกันแผลกดทับ
บำรงร่างกายให้แข็งแรง พักผ่อนให้เพียงพอและได้รับสารอาหารต่างๆที่สำคัญ เช่นโปรตีน วิตามิน และน้ำอย่างเพียงพอตั้งแต่ก่อนผ่าตัดไปจนถึงระยะหลังผ่าตัด
อธิบายเกี่ยวกับการเตรียมเลือดเพื่อให้พร้อมที่จะชดเชยเมื่อเกิดการเสียเลือด
อธิบายเกี่ยวกับการเตรียมความสะอาดผิวหนัง การงดอาหารและน้ำหลังเที่ยงคืนการเซ็นใบอนุญาตผ่าตัด เป็นต้น
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อถาวะตกเลือดเนื่องจากการผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินแผลผ่าตัดและเลือดที่ซึมบริเวณแผลผ้าตัด
ประเมินสัญญาณชีพและสภาพผู้ปวย
สังเกตและบันทึกลักษณะของเลือดที่ออก และจำนวนเลือดในขวดระบาย และดูแลให้ขวดระบายเลือดเป็นสุญญากาศ จำนวนเลือดที่ออกไม่มากกว่า 200 cc/hr. และ Hct สูงกว่า 30 %
ถ้ามีเลือดซึมมมากขึ้นบริเวณแผลผ่าตัด ใช้ผ้ายึดพันให้แน่นขึ้น ยกตอขาให้สูงและสังเกตการณ์ไหลเวียนของเลือดบริเวณขา สีผิว และอุณหภูมิของขา
ติดตามประเมินการซึมของเลือดบริเวณแผลผ่าตัด และบันทึกสัญญาณชีพอย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ปวดบริเวณแผลผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความปวดอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับระดับความปวด ลักษณะ และตำแหน่งของการปวด
ดูแลให้บริเวณตอขาได้พ(ในระยะ 24-48 ชม.แรกหลังผ้าตัดให้รองตอขาไว้บนหมอนหมอน) เพื่อลดปวด ลดบวม ภายหลังจากนี้ให้เอาหมอนออก ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล เบาๆมือ ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ การพูดคุยกับผู้ป่วย การฟังโดนตรี การทำสมาธิ
ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์ และติดตามอาการหลังรับประทานยา
ู