Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บศีรษะ (Head injury) (การพยาบาล (ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่า…
การบาดเจ็บศีรษะ (Head injury)
ความหมาย
การที่ศรีษะได้รับอันตรายจากแรงภายนอกมากระทบที่ศ๊รษะ เช่น วัตถุหลนจากที่สูง หกล้มศีรษะกระแทกพื้น เป็นต้นซึ่งทำให้มีพยาธิสภาพที่สีรษะส่วนไดส่วนหนึ่ง อาจเป้นหนังศีรษะ (Scale) กระโหลกศีรษะ (Skull) เยื่อหุ้มสมองหรือส่วนต่างๆของสมองรวมทั้งหลอดเลือดสมองแตก ทำให้มีเลือดออกในชั้นต่างๆของสมอง การบาดเจ็บที่ศีรษะนี้อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้ป่วยพิการหรือเสียชีวิตได้
สาเหตุ
อุบัติเหตุการณ์จราจร
มีวัตถุหล่นจากที่สูงลงมากระแทกที่ศีรษะ
หกล้ม ตกจากที่สูง ศีรษะกระแทรกพื้น
ถูกตีที่ศีรษะ
ทารกคลอดยากทำให้ศีรษะได้รับการกระทบกระเทือน
พยาธิสภาพ
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก
หนังศีรษะ (Scalp) บวม ช้ำ โน ถลอก ฉีกขาด
แตกร้าวเป็นแนว แตกร้าวเป็นฐาน+แนวตามขวางของกระดูก ด้านข้าง อาการรอยเขียวช้ำหลังหู แก้วหูฉีกมีเลือดออก น้ำ/เลือดออกทางจมูก/รูหู เบ้าตาเขียวช้ำ
กะโลกแตกยุบมีการฉีกขาดของ duraหรือเนื้อสมองร่วมการฉีกขาดของหนังศีรษะ
เนื้อสมองกระทบกระเทือน
อาจพบพฤติกรรมเปลี่ยน
แบ่งออกเป็น 3 เกรด
I ไม่หมดสติ สับสนสั้นๆ <15 m
II ไม่หมดสติ สับสนชั่วคราว >15 m
III หมดสติ
เนื้อสมองช้ำ
เลือดแทรกระหว่างเซลล์สมองใต้เยื่อเนื้อสมองสีคล้ำ
กลไกการเกิด
cavitation theory
Rotational acceleration
sudden positive pressure
skull distortion & head rotation hypothesis
การบาดเจ็บทั่วไปของเนื้อสมองส่วนสีขาว บาดเจ็บศีรษะอย่างรุนแรง
เนื้อสมองฉีกขาดเนื้อสมอง+เยื่ออแรคนอยด์ +เยื่อเพีย
บาดเจ็บระยะที่สอง
intracranial hematoma
intracerebral hematoma
เลือดออกใน parenchymal tissue >2cm+ การช้ำของสมองส่วนผิวโดยเฉพราะ frontal&temparol
epidural hematoma ก้อนเลือดร่วมตัว วั middlemeningeal+superior
sagittal sinus+diploic เิกบ่อยตรง temporal bone talk and die
syndrome อาการดีแต่ทรุดเร็ว
subdural hematoma
acute subdural hematoma เกิดก้อนเลือดเร็ว 24-72 ชั่วโมง
subacute subdural hematoma เกิดก้อนเลือดใต้เยื่อดูรา 72 ชั่วโมง- 2 สัปดาห์
chronic subdural hematoma เกิดก้อนเลือดใต้ดูรา 2สัปดาห์ขึ้นไป
cortical+bridging ใต้เยื่อดูรา
บริเวณช่องใต้กะโหลกจะกดส่วนเมดัลลาเกิดการหยุดหายใจ
บริเวณช่องวางระหว่างเทนทอเรียม
lateral/uncal tentorial herniation
posterior/tectal tentorial herniation
axialbain stem/central tentorial herniation
บริเวณใต้รอยแบ่งกึ่งกลางระหว่างสมองใหญ่สองซีก/ฟอลซ์ เซเรไบร
สมองบวม (cerebral edema)
vasogenic edema BBB เสียหน้าที่ทำให้มีน้ำและโปรตีนรั่วเข้าสู้ช่องระหว่างเซลล์
cytotoxic edema เสียหน้าที่ขับ Na+ออกเซลล์ ทำให้ Na+และน้ำสูงในเซลล์
ความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูง (increased intracranial pressure)
มีventricular fluid pressure 10-15 mmHg / 100-200 mmH2O
ขึ้นไป
อาก่ารและอาการแสดง
ฟกช้ำที่หนังศีรษะ
กระโหลกศีรษะร้าว
กระโหลกศีรษะแตกและมีบาดเจ็บที่สมอง
สมองฟกช้ำ (Brain
contusion )หรือสมองฉีกขาด (Brain
laceration)
หมดสติหลังบากเจ็บทันทีนานเป็นชั่วโมง เป็นวัน เป็นสัปดาห์ เป็นเดือน
อาจมีอัมพาตครึ่งซีก
ชัก เกร็ง
รุนแรงอาจเสียชีวิตได้
ไม่รุ่นแรงอาจฟื้นคืนสติได้
ปวดศีรษะ
สับสน เพ้อ เอะอะ
คลื่นไส้ อาเจียน
แขนขาเป็นอัมพาต
ปากเบี้ยวพูดไม่้ชัดหรือพูดไม่ได้
หลงๆ ลืมๆหรือบุคลิกภาพเปลี่ยนไปจากเดิม
เลือดออกในสมอง(Intracranial
hemorrhage)
ปวดศีษะ
คลื่นไส้ อาเจียน
ซึมลงเรื่อยๆ
แขนขาเป็นอัมพาต
ชีพจรเต้นช้า
หายใจตื่นชัด
ความดันเลือดสูง
คอแข็ง
รูม่านตาทั้ง 2ข้างไม่เท่ากัน
เด็กทารก
ร้องเสียงแหลม
ซึม
อาเจียน
มีการชัก
แขนขาอ่อนแรง
กระหม่อมโป่งตึง
สมองได้รับการกระทบกระเทือน(Brain concussion)
หมอสติไปเพียงชั่งครู่
เมื่อฟื้นแล้วจะรู้สึกมึนงง จำเหตุการที่เกิดขึ้นไม่ได้
อาการปวดศีรษะและหายได้เอง
การพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ โดยดูดเสมหะอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะความดันในกระโหลกศีรษะสูง โดยจัดให้นอนท่าศีรษะสูงประมาณ30 องศา ไม่หนุนหมอน
วัดสัญญาณชีพและอาการทางระบบประสาททุก 1-2ชั่วโมง
จัดท่าให้นอนศีรษะสูง เปลี่ยนท่าให้ทุก 1-2ชั่วโมง
สังเกตอาการของภาวะความดันในสมองสูง เช่น อาการปวดศีรษะ ระดับความรู้สึกตัวลดลง ตาพร่ามัว เป็นต้น หากพบอาการผิดปกติรายงานให้แพทย์ทราบ
แนะนำให้กลีกเลี่ยงการไอ จาม เบ่งถ่าย เพื่อหลีกเลี่ยงแรงดันในช่องอก (Valsalva’s maneuver)
ให้พักผ่อนและควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย
ให้ยาลดความดันในสมองตามแผนการรักษา เช่นMannitol,
Furosemide เป็นต้น
การรักษา
การผ่าตัด
Craniectomy
ยกศีรษะสูง 30 องศา
ให้เลือด
ให้ยาปฎิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
ปลูกกระดูก(Bone graft)
ปัญหาทางการพยาบาล
การกำซาบฌนื้อเยื่อลดลงเนื่องจากความดันในกะโหลกสีรษะสูง
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากระดับความรู้สึกตัวลดลง ความดันในกะโหลกศีรษะสูง เส้นประสาทที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหายใจทำงานบกพร่อง
ขาดประสิทธิภาพการทำทางเดินหายใจให้โล่ง เนื่องจากไม่สามารถไอเอาเสมหะออกจากภาวะไม่รู้สึกตัว
การเคลื่อนไหวบกพร่อง เนื่องจากไม่รู้สึกตัว แขนขาออนแรง