Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสอนทักษะการเขียน (องค์ประกอบในการเขียน (Style (เลือกโครงสร้าง คำ…
การสอนทักษะการเขียน
องค์ประกอบในการเขียน
Style
เลือกโครงสร้าง คำ สำนวนได้เหมาะสม
Mechanics
ช่วยให้งานเขียนอ่านเข้าใจ
*ลายมือ ตัวสะกด การใช้ตัวอักษรใหญ่ เครื่องหมายวรรคตอน
Grammar
ใช้โครงสร้างทางgrammarที่ถูกต้อง
Form
การเรียงลำดับเนื้อหาสอดคล้องกัน
Content
ประเด็นที่ต้องการสื่อมีความชัดเจน
องค์ประกอบของความสามารถในการเขียน
Spoken and Writing
ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับงานเขียน
Genre Analysis
เป็นแนวทางในการเลือกรูปแบบมาใช้
Purpose
Process and Product
ศึกษาข้อมูล วางแผน เขียนฉบับร่าง ทบทวนแก้ไขเพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพ
Readership
เพื่อให้เห็นความแตกต่างของงานเขียนในแต่ละรูปแบบ
การฝึกการเขียน
การเขียนตามคำบอก
ฝึกให้ผู้เรียนตั้งใจฟัง ฝึกใช้เครื่องหมายวรรคตอน ทดสอบการสะกดคำ
การเขียนบรรยายภาพหรือสิ่งของ
การเขียนบทสนทนา
เขียนเติมขยายบทสนทนา แปลงเรื่องเล่าเป็นบทสนทนา
เขียนบทสนทนาตามคำที่กำหนดให้
การเขียนเรียงความ
การเขียนเพื่อฝึกหัดสิ่งที่เรียนไปแล้วให้เกิดความแม่นยำ
ด้านคำศัพท์
ทำแบบฝึกหัดด้วยวิธีหาคำตอบที่มีคว่มหมายตรงกันข้าม
แบบฝึกหัดตามบทอ่านที่ทำไปแล้วในเรื่อง
ตอบสั้นๆหรือสรุปเรื่อง
ด้านไวยากรณ์
ฝึกจากตารางเทียบแทน การเลี่ยนรูปประโยค การใช้สถานการณ์
ข้อควรคำนึงในการสอนการเขียน
ผู้เรียนจะสามารถรู้และจำสิ่งที่ได้เรียนดียิ่งขึ้น
*ควรมีกิจกรรมการเขียนเป็นระยะๆ
ควรจัดกิจกรรมการอ่านและการเขียนให้ต่อเนื่องและเกี่ยวข้องกัน
ต้องแน่ใจว่าผู้เรียนสามารถพูด อ่านคำหรือข้อความและเข้าใจความหมายก่อนที่จะเขียน
แจ้งวัตถุประสงค์อย่างชัดเจนและกำหนดขอบข่ายในการเรียน
กระนวบการเรียนการสอน
การเขียนคัดลอก
Mechanical Copying
เป็นการเขียนคัดลอกคำ ข้อความหรือประโยค ฝึกการสะกดคำ เขียนประโยคและฝึกอ่านในใจ
Scramble Sentences
Scrambled Word
Putting Dialogue Sentences into Correct Order
Line Drawings
Word Puzzles
Matching Question And Answers
เขียนตามรอยปะ
Correcting Sentences
การคัดลายมือ
*ข้อเสีย ลอกคำ ข้อความหรือประโยคโดยไม่เข้าใจความหมาย
การเขียนแบบควบคุม
Controlled Writing
เน้นในเรื่องความถูกต้องของรูปแบบ ป้องกันไม่ให้นักเรียนผิดตั้งแต่ต้น
Re-ordering words
Substitution Tables
Changing forms of Certain words
Gap Filling
*ข้อเสีย จำกัดในทางความคิดสร้างสรรค์
การเขียนแบบกึ่งควบคุม
Less-controlled Writing
ผู้สอนกำหนดโครงเรื่องหรือเนื้อหาและรูปแบบเพียงบางส่วนให้ผู้เรียนต่อเติมส่วนที่ขาดหายไปให้สมบูรณ์ ผู้เรียนมีอิสระมากขึ้น
Question and Answer Composition
Dictation
Describing People
Parallel Writing
Sentence Combining
การเขียนแบบอิสระ
Free Writing
กำหนดเพียงหัวข้อ แล้วผู้เรียนเป็นผู้เขียนตามความคิดของตนเอง
*ข้อเสีย ผู้เรียนที่มีข้อมูลคำศัพท์ โครงสร้างประโยค ไวยากรณ์ค่อนข้างน้อย ไม่ค่อยประสบความสำเร็จเท่าที่ควร
ระดับความสามารถในการเขียน
Composition
เรียบเรียงย่อหน้า เรียงกลุ่มประโยคที่มีความสัมพันธ์
ใช้ตัวเชื่อมต่างๆ โยงประโยคหรือย่อหน้าเข้าด้วยกัน
สร้างประโยค เสนอความรู้สึกนึกคิดแล้วนำประโยคมาเรียงเป็นความเรียง
Style
ใช้ภาษาที่เหมาะสมกับผู้อ่านและจุดมุ่งหมาย
สร้างอรรถรสในงานเขียน ทำให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกคล้อยตาม
เขียนรูปแบบต่างๆ
*เล่าเหตุการณ์ บรรยาย โต้แย้ง
Communication
เนื้อหาสอดคล้องกับการใช้รูปแบบ
นำเสนอความคิดเห็น
เขียนแบบต่างๆเพื่อให้เกิดการสื่อสาร
ขั้นตอนการสอนการเขียน
จัดหาคำศัพทืและโครงสร้างทางภาษา
ตั้งคำถามที่จะเป็นประโยชน์ต่องานเขียน
ผู้สอนต้องเตรียมกิจกรรมการสอนล่วงหน้า
เป็นกิจกรรมที่ต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ภาษาในการเขียน