Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทักษะการเขียน :pen: (แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนทักษะการเขียน…
ทักษะการเขียน :pen:
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนทักษะการเขียน
องค์ประกอบในการเขียน
เนื้อหาสาระที่จะใช้เขียน ประเด็นที่ต้องการสื่อให้มีความหมายชัดเจน
ทักษะทางไวยากรณ์
ลีลาภาษา คือ คำ สำนวน โครงสร้าง
กลไกในการเขียน คือ บริบทที่ช่วยให้การเขียนอ่านเข้่ใจ เช่น ลายมือ ตัวสะกด ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ เครื่องหมายวรรคตอน
องค์ประกอบของความสามารถในการเขียน
เรียบเรียงข้อความจากลักษณะโครงสร้างภาษาตามแบบฟอร์มของการเขียนได้ตรงจุดมุ่งหมาย
ตั้งจุดมุ่งหมายของการเขียน
ใช้ภาษาเขียนงานได้เหมาะสม
ควรฝึกเป็นผู้อ่านควบคู่กับการเขียนเพื่อให้เห็นความแตกต่างของรูปแบบการเขียนไปแต่ละชิ้น
กระบวนการเขียนต้องเริ่มจากการศึกษาข้อมูลวางแผนเขียน ฉบับร่าง และทบทวนแก้ไข
ระดับความสามารถในการเขียน
ระดับเรียงความ
การสร้างประโยค
คือ การนำเสนอความรู้สึกนึกคิดโดยเรียงประโยค และนำประโยคมาเรียงเป็นย่อหน้า
การเรียบเรียงย่อหน้่า
คือการเรียบเรียงกลุ่มประโยคที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระเบียบ
การใช้ตัวเชื่อมต่างๆ
เพื่อทำหน้าที่โยงประโยคกับย่อหน้าเข้าด้วยกัน
ระดับลีลาการเขียน
การใช้ภาษาที่เหมาะสม
คือการเลือกใช้ระดับภาษาให้
เหมาะสมกับผู้อ่าน
และ
จุดมุ่งหมาย
ของการเขียน
การสร้างอรรถรสในงานเขียนเป็นความสามารถในการเขียนที่ทำให้
ผู้อ่านเกิดความรู้สึกคล้อยตาม
การเขียนรูปแบบต่างๆ
เช่น เล่าเหตุการณ์ การบรรยาย การโต้แย้ง (รูปปแบบแตกต่างตามข้อมูล)
ระดับสื่อสาร
การ
เลือกเนื้อหา
ให้เหมาะสมกับรูปแบบการเขียน
การ
นำเสนอความคิด
เห็น เช่น การบรรยาย การเล่าเหตุกาณ์
การสื่อสารโดยใช้
รูปแบบการเขียน
ต่างๆ
การฝึกการเขียน
1.การเขียนเพื่อฝึกหัดสิ่งที่เรียนไปแล้วให้เกิดความแม่นยำ
ด้านไวยากรณ์ ให้เขียนซ้ำแบบฝึกที่ผู้เรียนได้เรียนมา
ด้านคำศัพท์ เช่น ทำแบบฝึกหัดด้วยวิธีการหาคำที่ความหมายตรงข้ามหรือคำจำกัดความ
แบบฝึกหัดตามบทอ่านที่ทำไปแล้วในเรื่อง ให้เขียนคำตอบอย่างสั้นๆหรือสรุปเรื่อง
2.การเขียนบทสนทนา ได้แก่เขียนเติมขยายบทสนทนา แปลงเรื่องเล่าเป็นบทสนทนา เขียนบทสนทนาตามคำที่กำหนดให้
3.การเขียนตามคำบอก เพื่อฝึกการใช้เครื่องหมายวรรคตอนฝึกให้ผู้เรียนสามารถเปลี่ยนเสียงคำพูดเป็นตัวอักษรทดสอบการสะกดคำ
การเขียนบรรยายภาพหรือสิ่งของ โดยสามารถบรรยายได้ตรงตามลักษณะของภาพหรือสิ่งของ
การเขียนเรียงความ ได้แก่ การเขียนเรียงความตามหัวข้อที่กำหนดหรือหัวข้อที่สนใจ
ขั้นตอนการสอนการเขียน
1.จัดหาคำศัพท์และโครงสร้างทางภาษาที่จำเป็น
2.ผู้สอนต้องเตรียมกิจกรรมการสอนล่วงหน้า
เลือกหัวข้อที่น่าสนใจ
4.สร้างความสนใจในหัวข้อนั้นๆ
5.สร้างประสบการณ์ในหัวข้อนั้นๆ
6.หัวข้อและรูปแบบมีความหลากหลาย
มีข้อมูลสำหรับหัวข้อนั้น
ข้อควรคำนึงในการสอนการเขียน
เข้าใจความหมายก่อนที่จะเขียน
ผู้เรียนสามารถรู้และจำสิ่งที่เรียนได้ดีจากการทำกิจกรรม
ควรจัดกิจกรรมการอ่านและการเขียนให้ต่อเนื่องและเกี่ยวข้องกัน
4.ผู้เรียนทราบวัตถุประสงค์และขอบข่ายการเขียน
กระบวนการเรียนการสอนทักษะการเขียน
การเขียนแบบคัดลอก (Mechanical copying)
ฝึกให้เรียนรู้การสะกดคำ การเขียนประโยคและการฝึกอ่านในใจไปพร้อมกัน แต่มีข้อเสีย คือ บางกิจกรรมผู้เรียนอาจลอกคามโดยที่ไม่รู้ความหมาย
การคัดลายมือ ทำให้เขียนคล่องแคล่ว
การเขียนตามรอยประ ทำให้รู้จักวิธีการเขียน
Word Puzzles สะกดตัวอักษร
Scrambles word สะกดตัวอักษรให้มีความหมาย
Scrambled sentences จัดเรียงคำใหม่ให้เป็นประโยค
Putting dialogue sentences into correct order จัดเตรียมประโยคในบทสนทนาให้ถูกต้อง
Line drawings หาความสัมพันธ์ระหว่างประโยคกับรูปภาพ
Matching questions and answers ฝึกเขียนประโยคใหม่ให้มีความหมายที่ดีถูกต้องตามไวยากรณ์
Correcting sentences เขียนประโยคใหม่ให้มีความหมายที่ดีและถูกต้องตามไวยากรณ์
การเขียนแบบควบคุม (Controlled writing)
เน้นในเรื่องความถูกต้องของรูปแบบการเขียน ข้อดี จำกัดความคิดสร้างสรรค์ ข้อเสีย คือ ช่วยป้องกันไม่ให้นักเรียนผิดตั้งแต่แรก
Gap filling
เติมคำลงในช่องว่าง
ผู้เรียนได้ฝึกใช้คำชนิดต่างๆทั้งด้านความหมายและไวยากรณ์
Re-ordering words
เรียงคำ
ที่กำหนดให้เป็นประโยคและเรียนรู้ความหมายของประโยค
Substitution tables
เลือกคำที่กำหนดให้มาเขียนเป็นประโยคตามโครงสร้างที่กำหนด
ทำให้ผู้เรียนเลือกใช้คำที่หลากหลายในโครงสร้างประโยคเดียวกัน ฝึกความเข้าใจความหมายของประโยคและคำ
Changing forms of certain words ฝึกเขียนโดย
เปลี่ยนแปลงคำที่กำหนดให้ในประโยค
ให้เป็นรูปแบบพจน์ หรือรูปการต่าง ๆ รูปแบบประโยคปฎิเสธ เป็นต้น ผู้เรียนได้ฝึกการเปลี่ยนรูปแบบของคำได้อย่างสอดคล้องกับชนิดและหน้าที่ของประโยค
การเขียนแบบกึ่งควบคุม (Less-controlled writing)
การเขียนมีการควบคุมน้อยลง ผู้เรียนมีอิสระ ในการเขียนมากขึ้น ผู้สอนกำหนดโครงเรื่องหรือเนื้อหาและรูปแบบเพียงบางส่วนสำหรับผู้เรียนและให้ผู้เรียนต่อเติมส่วนที่หายไปให้สมบูรณ์
Sentence combining การเขียนแบบเชื่อมสองประโยคเข้าด้วยกันด้วยคำขยายหรือคำเชื่อม
Describing people เป็นการฝึกเขียนบรรยาย คน สัตว์ สิ่งของหรือสถานที่โดยใช้คำคุณศัพท์
Question and answer composition เป็นการฝึกเขียนเรื่องราว ภายหลังจากการฝึกถามปากเปล่า โดยจับคู่กันแล้วสลับกันถามเกี่ยวกับเรื่องราวที่กำหนดให้ จากนั้นบันทึกคำตอบไว้แล้วนำมาเรียงเขียนเป็นเรื่องราว
Dictation การฝึกเขียนตามคำบอก
Parallel writing การฝึกการเขียนเรื่องราวเทียบเคียงกับเรื่องที่อ่าน มีลักษณะเทียบเคียงกับความหมายและโครงสร้างของประโยคของเรื่องที่อ่าน
การเขียนแบบอิสระ (Free writing)
ผู้เรียนมีอิสระและได้แสดงความคิดเห็นในการเขียน ผู้สอนเป็นเพียงผู้
กำหนดเพียงหัวข้อ
หรือสถานการณ์ แล้วให้ผู้เรียนเป็นผู้เขียนตามความคิดของตนเอง
ข้อดี
ผู้เรียนพัฒนาความคิดของตนเองเต็มที่
ข้อเสีย
คือ ผู้เรียนที่มีข้อมูลคำศัพท์โครงสร้างประโยค ไวยากรณ์ เป็นองค์ความรู้ค่อนข้างน้อย จะส่งผลให้การเขียนอิสระนี้ไม่ค่อยประสบความสำเร็จเท่าที่ควร
กำหนดเนื้อหาก่อนจะเขียนโดยพูดเกี่ยวกับสิ่งที่จะเขียน ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นมากที่สุด อาจใช้วิธี สร้างเครือข่ายเนื้อหา>> กำหนดโครงร่างของเรื่องโดยขยายคำที่อยู่ในเครือข่าย>>ลงมือเขียน
ผู้สอน
ไม่ควรกำหนดหัวเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน
ไม่ควรสั่งงานโดยไม่ได้ช่วยผู้เรียนเตรียมตัวในการเขียน หัวข้อหรือเรื่องที่ไม่ควรยากเกินความสามารถของผู้เรียน