Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลที่มีเซลล์เจริญผิดปกติท…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลที่มีเซลล์เจริญผิดปกติทั้งในระยะเฉียบพลันวิกฤตเรื้อรังและภาวะใกล้ตาย
Cell Cycle
ระยะ interphase
ระยะG 1 ระยะฟักตัวของเซลล์สะสมสารต่างๆเพื่อเตรียมตัวสร้างดีเอ็นเอ ระยะ S มีการสังเคราะห์ DNA ระยะ G2 หยุดสังเคราะห์ DNA แต่สังเคราะห์ RNA และโปรตีน ระยะ G0 ระยะฟักตัวพร้อมผ่านเข้าสู่ระยะ G1
ระยะ M Phase
แบ่งนิวเคลียสเพื่อเพิ่มจำนวนของเซลล์ร่างกาย(โซมาติกเซลล์) เข้าสู่ G1 ของ Cell Cycle เข้าสู่ G0 หยุดพักการเจริญเติบโต แก่ตัวเป็น Differentiated cell
กระบวนการก่อมะเร็ง
ระยะ 1 เริ่มต้น ร่างกายได้รับสารก่อมะเร็ง DNA เปลี่ยนแปลง เซลล์ตั้งต้นมะเร็ง ระยะ 2 ส่งเสริม ได้รับการส่งเสริมสารตั้งต้นมะเร็งถูกกระตุ้นให้แบ่งตัวและเพิ่มขยายจำนวนเซลล์ ระยะ 3 ก้าวหน้า เซลล์ตั้งต้นมะเร็งพัฒนาเป็นเซลล์มะเร็งโดยสมบูรณ์ ระยะ 4 แพร่กระจาย เริ่มแพร่กระจายเมื่อมีขนาดประมาณ 1-2 cms.
ชนิดของมะเร็ง
Carcinoma เกิดกับเยื่อบุภายในและภายนอก ของระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินอาหารเยื่อบุมดลูกชื่อหนังต่อมต่างๆไต ตับ มะเร็งแพร่กระจายไปหลอดน้ำเหลืองเร็วกว่ากระแสเลือด
Sarcomaเกิดกับเนื้อเยื่อประสานกันไขมันกระดูกหลอดเลือดหลอดน้ำเหลืองกล้ามเนื้อประสาทมะเร็งที่แพร่กระจายไปกระแสเลือดได้รวดเร็วเช่น ลูคีเมีย มะเร็งเม็ดเลือด
คุณลักษณะของเซลล์มะเร็ง
1 เจริญเติบโตและแบ่งตัวตลอดเวลา
2 เสียความสามารถในการแยกพวก 3 เซลล์มะเร็งเพิ่มจำนวนได้เรื่อยๆ 4 ย่อขยายและดื้อต่อการรักษา 5 แพร่กระจายไปตามอวัยวะต่างๆ
กลไกการเกิดมะเร็ง
1 Photo-Oncogene ยีนส่งเสริมการเจริญเติบโตทำหน้าที่สำคัญในการแบ่งตัวของเซลล์ 2 tumor suppressor Geneควบคุมการแบ่งตัวของเซลล์และทำให้เกิด apoptosis 3 DNA Repair Gene ยีนควบคุมการซ่อมแซม DNA มีหน้าที่ตรวจสอบ DNA ที่จำลองหากมี DNA ผิดปกติ หากทำงานบกพร่อง DNA ที่ผิดปกติจะไม่ถูกทำลายเกิดการกลายพันธุ์ของเซลล์ เกิด Oncogene เกิดความผิดปกติในการสังเคราะห์ Oncogene มีGF และ receptor GF เพิ่มขึ้น เซลล์แบ่งตัวเพิ่มขึ้นควบคุมไม่ได้และทำให้เกิดเซลล์มะเร็งแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว
ผลกระทบของมะเร็ง
ทางตรงการอุดกั้นการกดทับการทะลุการเปลี่ยนแปลงสูญเสียหน้าที่ ทางอ้อมซีดผอมอย่างรวดเร็วภาวะน้ำในเนื้อเยื่อหุ้มปอดฮอร์โมนผิดปกติการแข็งตัวของเลือดผิดปกติภาวะน้ำในเนื้อเยื่อหุ้มหัวใจขัดขวางการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจอาการทางระบบประสาทความผิดปกติของระบบปัสสาวะ
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาลก่อนวันผ่าตัด แนะนำสถานที่สิ่งแวดล้อมเซ็นยินยอมการผ่าตัด สอบถามข้อมูลต่างๆสังเกตอาการเตรียมด้านจิตใจ อธิบายเตรียมตัวก่อนผ่าตัดติดตามผลแลป
การพยาบาลหลังผ่าตัด 24 ชั่วโมงแรก v/s q 5 - 15 นาทีจนกว่าปกติดูแลสารน้ำสังเกตเลือดที่ออกดูแลสายระบายต่างๆ I/O หลัง 24 ชั่วโมง Painสอนประคองแผลผ่าตัดประเมินอาการให้กำลังใจ/คำชม
การรักษาด้วยรังสีบำบัด
-
-
ร่างสีบำบัดกับการผ่าตัด ฉายรังสีก่อนผ่าตัดช่วยขนาดเล็กลงแผลหายช้า ฉายรังสีหลังผ่าตัดกรณีมะเร็งลุกลาม รังสีบำบัดกับเคมีบำบัด ให้ก่อนเคมีบำบัด ลดขนาดก้อน ให้หลังเคมีบำบัด ลดขนาดมะเร็ง
การพยาบาล
ดูแลผิวหนังบริเวณที่ฉายรังสี ระมัดระวังไม่ให้เส้นที่แพทย์วัดลบจางหาย หลีกเลี่ยงการใช้ครีมดาราต่างๆที่ผิว
ห้ามวางกระเป๋าน้ำร้อนน้ำแข็งบริเวณผิวหนังที่ฉายรังสี สวมเสื้อผ้าที่สวมบางเบาสบาย เลี่ยงการโกนขน/ผม บริเวณที่ฉายรังสี เพราะอาจทำให้เกิดแผล การรักษาด้วยเคมีบำบัด มีผลต่อการทำลายเซลล์เฉพาะบางระยะส่วนใหญ่ระยะ S ในขณะที่บางตัวออกฤทธิ์ได้ทุกระยะ การพยาบาลก่อนรับเคมีบำบัด เตรียมความพร้อมของ PT 2 ครอบครัวเน้นให้ความรู้แนะนำการปฏิบัติตัว การพยาบาลระหว่างได้รับเคมีบำบัด
ประเมินความเข้าใจความพร้อมของผู้ป่วยในการรับเคมีบำบัด การพยาบาลหลังรับเคมีบำบัด เน้นการวางแผนจำหน่ายและให้คำแนะนำดูแลตนเอง