Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 เศรษฐกิจโลกาภิวัฒน์กับการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเ…
บทที่8 เศรษฐกิจโลกาภิวัฒน์กับการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปิดเสรีการค้าและกรอบความตกลงระหว่างประเทศ
สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศ
ความตกลง(ชั่วคราว)ทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้า General Agreement on Tariff and Trade: GATT
องค์การการค้าโลก World Trade Organization: WTO
รูปแบบการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่นำไปสู่การค้าเสรี
เขตการค้าเสรี FTA = การร่วมกลุ่มเพื่อลดภาษีศุลกากรเป็น0
สหภาพศุลกากร (Custom Union) = การรวมตัวลักษณะตลาดร่วม(Single Market) ซึ่งไม่มีกำแพงภาษีระหว่างประเทศสมาชิกในสหภาพศุลกากรเก็บภาษีศุลกากรอัตราเดียวกัน (Common Level)
พันธมิตรทางเศรษฐกิจ (Closer Economic Partnership: CEP) หมายถึง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่มีการพัฒนารูปแบบไปจากที่เคยมีมา โดยครอบคลุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจทั้งในด้านการค้า สินค้า บริการและการลงทุน
กรอบความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศ
โอกาส
1.หลักเศรษฐศาสตร์ ผลิตสินค้ามาก ราคาถูก
2.มีตลาดกว้างขึ้น
กระตุ้นการลงทุนจากต่างประเทศ
4.สร้างอำนาจต่อรองทางการค้า
5.ด้านการเมืองระหว่างประเทศในการถ่วงดุลการค้า
ผลกระทบ
1.อุตสาหกรรมแรกเริ่มจะหายไป
2.ประเทศที่ผลิตสินค้าเหมือนกันจะกลายเป็นคู้แข่ง
3.การจัดการเขตการค้าเสรีแบบภูมิภาคจะทำลายระบบการค้าเสรีของทั้งโลก
4.กีดกันทางการค้าประเทศนอกกลุ่ม
ประเทศที่เล็กกว่าจะเสียเปรียบเพราะมีอำนาจต่อลองน้อยกว่า
การนำเข้าสินค้าภายในกลุ่มมากขึ้น นอกกลุ่มน้อยลง
*ต่อการค้าของไทย มีความเชื่อมโยงกับนโยบายและทิศทางการพัฒนาภายในประเทศ
ประชาคมเศราฐกิจอาเซียนและผลกระทบต่อภาคการเกษตรของไทย
วัตถุประสงค์การจัดตั้งประชาคมเสรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community:AEC)
1.การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว
2.การเป็นภูมิภาคที่มีความสามารถในการเเข่งขัน
3.การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาเสรษฐกิจเท่าเทียม
4.การเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศราฐกิจโลก
ผลกระทบไทยทางบวก(+)
ตลาดไทยขยายตัวมากขึ้น ขายสินค้าได้มากขึ้น
ภาคการผลิต/แปรรูปได้วัตถุดิบราคาถูกเพราะไม่มีภาษีนำเข้า
เกษตรกรมีความสามารถในการเเข่งขัน เพราะมีการปรับปรุงคุณภาพให้ได้ตามมาตรฐาน
Aseanเป็นตลาดใหญ่ไทยมีความพร้อมในการรองรับตลาด
สร้างงานให้กับเเรงงานอาเซียน
ผลกระทบเชิงลบ(-)
คู่เเข่งมากขึ้น ผู้ซื้อหันไปซื้อสินค้าที่ราคาถูกกว่า
อาจมีการกำหนดมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีมาเป็นข้อจำกัด เช่น ระเบียบ คุณภาพ ความปลอดภัย
นักลงทุนต่างชาติมีสิทธิเข้ามาลงทุน/แข่งขันกับคนไทย
แรงงานไทยออกไปตปท.เพราะเงินดีกว่า
กฎหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรและการดำเนินการตามพันธกรณี
กฎหมายและข้อตกลงที่เกี่ยวกับทรัพยากรพันธุกรรมพืช
1.อนุสัญญาว่าด้วยการคุมครองพันธุ์พืชใหม่(อนุสัญญา UPOV)
2.สนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยทรัพยากรพันธุกรรมพืชเพื่ออาหารและการเกษตร (International Treaty On Plant Genetic Resources for Food and Agriculture:ITPGR)
3.อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ(Convention on Biological Diversity:CBD)
กฎหมายที่เกี่ยวกับมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช(Sanitary and Phytosanitary Measures:SPS)
1.คณะกรรมการโครงการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศครงการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ (Codex Alimentarius Commission) มุ่งเน้นด้านความปลอดภัยและสุขอนามัย ของผู้บริโภคให้ประเทศสมาชิกนำไปใช้เป็นเกณฑ์ปฏิบัติ เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (World Organization for Animal Health หรือ Office International des Epizooties, OIE) เป็นองค์กรกลางในการประสานความร่วมมือกัน ในการปราบปรามและควบคุมโรคระบาดสัตว์ที่สำคัญ เพื่อมิให้โรคร้ายทำลายชีวิตและเศรษฐกิจของประเทศ
3.อนุสัญญาว่าด้วยการอารักขาพืชระหว่างประเทศ (International Plant Protection Convention : IPPC)
การดำเนินกสรของไทยตามพันธกรณีของกฎหมายและข้อตลลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาภาคการเกษตร
1.กฎหมายและข้อตกลงเกี่ยวกับทรัพยากรพันธุกรรมพืช
2.กฎหมายและข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ได้แก่ Codex,IPPC,OIE