Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ (Peritonitis) (กาารรรักษา (การผ่าตัดรักษาตามสาเหตุ…
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ (Peritonitis)
พยาธิสภาพ
เยื่อบุช่องท้องอักเสบทำให้หลอดเลือดของเยื่อบุช่องท้องขยายตัวเพื่อให้เลือดไปเลี้ยงมากขึ้นมีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของผนังหลอดเลือด
ทำให้มีการซึมผ่านของสารเหวเพิ่มขึ้น (permeability) สารน้ำจากหลอดเลือดจะผ่านผนังออกสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์ในลำไส้และผนังลำไส้
ทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำจำนวนมากอาจถึง 10 Uit และปริมาตรน้ำจากระบบไหลเวียนลดลงเป็นผลให้ไตขาดเลือดไปเลี้ยงผู้ป่วยอาจ shock
หากการอักเสบรุนแรงก็จะทำให้ลำไส้บีบตัวน้อยลงจนหยุดการเคลื่อนไหวเรียกภาวะนี้ว่าลำได้เปผนอัมพาต (paralytic leus) เป็นผลให้สารเหลวและลมคั่งในกระเพาะอาหารและลำไส้ทำให้วิ่งพองเกิดภาวะท้องอืดแน่นอึดอัดท้องหายใจไม่สะดวก
สาเหตุ
จุลชีพ
แบคทีเรีย
ไวรัส
ปาราสิต
ไม่ใช่จุลชีพ
สารเคมีน้ำย่อยน้ำดีเลือดเศษอาหารจากกระเพาะและลำไส้
บาดแผลผ่าตัดรัวเข้าช่องท้องบาดแผลอุบัติภัยและสิ่งแปลกปลอม
ประเมินสภาพ
ตรวจร่างกาย
อาการปวดท้องเฉียบพลัน
กดเจ็บหน้าท้อง (tenderness) กดเจ็บเมื่อปล่อยมือ (rebound tenderness)
เกร็งเวลากด gaarding) และหน้าท้องแข็งเกร็งเหมือนกระดาน
ท้องอืดลำไส้เคลื่อนไหวลดลงหรือหยุดเลย (paralytic ileus)
หน้าท้องโป่งตึงเคาะได้เสียงโปร่ง
กระหายน้ำปากคอแห้ง ปัสสาวะออกน้อย
ไข้สูงเกิน 38 C ชีพจรเร็วหายใจตื้นและเร็วความดันโลหิตลดลงกระสับกระส่าย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เม็ดเลือดขาวสูงโดยเฉพาะนิวโตรฟิล
ความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะสูง
Hct เพิ่มขึ้น
ผลอิเล็กโตรไลท์ผิดปกติ
ซักประวัติ
อาการปวดท้อง
ตำแหน่งที่ปวด
ความรุนแรงและเป็นมากขึ้น
ลักษณะการปวดกระจายมากขึ้นทั่วท้องจนหน้าท้องแข็งตึงขยับตัวไม่ได้
ตรวจพิเศษ
ถ่ายภาพรังสีหน้าท้อง (film abdomen)
ในรายที่กระเพาะอาหารหรือลำไส้ทะลุจะเห็นเงาของอากาศอยู่นอกทางเดินอาหารบริเวณใต้กระบังลม
Ultrasound
พบของเหลวสะสมเป็นก้อน
กาารรรักษา
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลก่อนผ่าตัด
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากปวดท้องและท้องอืด
มีการติดเชื้อในช่องท้องไม่สุขสบายเนื่องจากปวดท้องจากการอักเสบ
ขาดความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการผ่าตัด
วินิจฉัยการพยาบาลหลังผ่าตัด
มีภาวะขาดสารนำและเกลือแร่จากการงดน้ำและอาหารและสูญเสียทางท่อระบาย
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากปวดแผลหลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อของแผลผ่าตัดเนื่องจากการติดเชื้อในช่องท้องยังไม่หมดไป
ปวดแผลเนื่องจากเนื้อเยื่อบาดเจ็บ
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้สารน้ำตามแผนการรักษา
2 ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
สังเกตอาการปวดและให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
จัดท่านอนที่สุขสบายให้โดยให้นอนงอเข่า
ดูแลให้ยาคลายกังวลตามแผนการรักษาของแพทย์
บันทึกสารน้ำเข้าออกเพื่อประเมินความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
ประเมินสัญญาณชีพรทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียนตามแผนการรักษา
ดูแลใส่ NG tube เพื่อลดสารคัดหลั่งในกระเพาะอาหาร
ดูแลให้ 0% ตามแผนการรักษา
มีภาวะขาดสารน้ำและเกลือแร่จากการอักเสบและติดเชื้อ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำให้เพียงพอเพื่อป้องกันภาว shock จากการเสียน้ำ
ใส่ NG Tube เพื่อดูดสารน้ำและลมออกลดอาการท้องอืด
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อลดการติดเชื้อที่รุนแรงขึ้น
การผ่าตัดรักษาตามสาเหตุ
ไส้ติ่งแตกให้ตัดไส้ติ่งออก (appendectomy)
กระเพาะอาหารทะลุให้เย็บปิดรูทะลุ (simple suture and onmental graft)
ลำไส้เน่าตายจากไส้เลื่อนบีบรัดผ่าตัดลำไส้เน่าออกตัดต่อลำไส้ใหม่
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีการเจ็บป่วยวิกฤติและเฉียบพลันระบบทางเดินอาหาร