Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:pencil2:ทักษะการอ่าน :pencil2: (แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนทักษะการอ่าน…
:pencil2:
ทักษะการอ่าน
:pencil2:
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนทักษะการอ่าน
การจำแนกประเภทการอ่าน
การอ่านออกเสียง (Oral reading)
คล่องแคล่ว
ถูกจังหวะ วรรคตอน และการเน้นเสียง
ถูกต้อง
การอ่านในใจ (Silent Reading)
ไวยากรณ์
โครงสร้าง
ความหมายของคำ
ระดับความเข้าใจในการอ่าน
ผู้เชียวชาญ
ระดับกลไก (Mechanical skills)
สามารถบอกความเหมือนแล
ะแตกต่าง
ของตัวสะกดได้
ระดับความรู้ (Knowledge)
เข้าใจความหมาย
ของคำหรือประโยคว่าสอดคล้องกับรูปภาพหรือไม่
ระดับการถ่ายโอน (Transfer)
เข้าใจข้อความใหม่
ที่มีคำศัพท์และโครงสร้างไวยากรณ์ที่เรียนมาแล้ว
ระดับสื่อสาร (Communication)
สามารถอ่านคำศัพท์และโครงสร้างใหม่หรือคำที่มีรากศัพท์กับคำที่อ่านมาแล้วเข้าใจ ถึงแม้ไม่เข้าใจทุกคำแต่สามารถ
จับใจความความสำคัญของเรื่องได้
ระดับการวิเคราะห์วิจารณ์ (Criticism
สามารถ
เข้าใจ
ความหมายแฝงเข้าใจจุดมุ่งหมายความคิดเห็นทัศนคติและระดับภาษาของ
ผู้เขียน
เดอซองค์
ระดับความเข้าใจตามตัวอักษร (Literal comprehension)
ผู้อ่านสามารถอธิบายได้ชัดเจน สามารถจำ และระลึกความคิดหรือรายละเอียดของข้อมูลที่อ่านได้
ระดับการเรียบเรียงลำดับข้อความ (Re-organization)
อาศัยการวิเคราะห์และสังเคราะห์หรือการเรียงลำดับความคิดที่ระบุไว้อย่างชัดเจนในข้อความที่อ่าน
การสรุปความจากการอ้างอิง (Inference)
ความคิดเห็นตรงไปตรงมาและสอดคล้องกันระหว่างผู้อ่านและผู้เขียน (Convergent inference)
การสรุปความที่ตัดสินไม่ได้ว่าถูกหรือผิด (Divergent inference)
ระดับการประเมินผลหรือระดับวิพากษ์วิจารณ์(Evaluation or critical reading)
ู้อ่านต้องประเมินหรือวิจารณ์เกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้ โดยใช้ข้อมูลที่ผู้เขียนกล่าวไว้ในเนื้อเรื่องเป็นส่วนประกอบ
ระดับความซาบซึ้ง (Appreciation)
ผู้อ่านต้องสามารถบอกเทคนิคหรือรูปแบบที่ผู้เขียนใช้ในการเร้าให้ผู้อ่านมีปฏิกิริยาโต้ตอบได้
ระดับความเข้าใจขั้นผสมผสาน (Integrative comprehension)
เป็นการรวบรวมประสิทธิภาพในการจดจำข้อมูล เพื่อนำไปประยุกต์กับประสบการณ์ในอดีตของแต่ละคน เพื่อเป็นประโยชน์ในการอ่านทั่วๆไป
การกำหนดจุดมุ่งหมายการอ่าน
อ่านเพื่อหาความรู้
อ่านเพื่อความบันเทิง
อ่านเพื่อทราบข่าวสาร ความคิด
อ่านเพื่อจุดประสงค์เฉพาะแต่ละครั้ง
การสอนหลักการอ่าน
การฝึกฝนการอ่าน
บทอ่านเป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจของผู้เรียน
ความซับซ้อนของภาษาช่วยให้ผู้เรียนรู้การอ่าน
การเสริมข้อมูลเพิ่มเติมโดยผู้สอนสามารถใช้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจยิ่งขึ้น
การอ่านเป็นกลุ่มช่วยให้การจับใจความดีขึ้น
สื่อการสอนช่วยเพิ่มความเข้าใจในการอ่าน
บรรยากาศในการเรียนการสอนควรเป็นบรรยากาศที่สบายๆ ไม่เครียด
องค์ประกอบที่ควรคำนึงถึงในการสอนอ่าน
ความรู้เรื่องภาษา
รูปแบบคำ
การเรียบเรียงคำ
โครงสร้างและไวยากรณ์ของภาษ
ความรู้รอบตัว
เหตุการณ์บ้านเมืองปัจจุบัน
วัฒนธรรม
ความรู้ในระบบการเขียน
การสะกดคำ
การออกเสียง
ความสามารถในการตีความ
อ่านอะไร
อ่านอย่างไร
เหตุผลในการอ่านและวิธีการอ่าน
เข้าใจจุดประสงค์จากเรื่องที่อ่าน
ความสัมพันธ์ระหว่างประโยค
องค์ประกอบสำคัญที่ส่งเสริมการอ่าน
ความรู้ทางภาษา
ประสพการณ์และความรู้เดิม
ความสำคัญของเนื้อเรื่องที่ได้อ่าน
ความสามารถในการวิเคราะห์โครงสร้างของเนื้อเรื่องที่ได้อ่าน
กระบวนการเรียนการสอนทักษะการอ่าน
ขั้นตอนและกิจกรรมการสอนการอ่าน
กิจกรรมก่อนการอ่าน
จุดประสงค์
กระตุ้นความสนใจในหัวข้อเรื่อง
ชักจูงให้ผู้เรียนอยากเรียนด้วยการให้เหตุผลในการอ่าน
ให้ผู้เรียนเตรียมตัวทางภาษาก่อนอ่านเนื้อเรื่อง
ขั้นตอน
ให้คาดคะเนเรื่องที่จะอ่าน
ให้เดาความหมายของคำศัพท์จากบริบท
กิจกรรมระหว่างการอ่าน
ขั้นตอน
ให้ลำดับเรื่อง
เขียนแผนผังโยงความสัมพันธ์ของเนื้อเรื่อง
เติมข้อความลงในแผนผังของเนื้อเรื่อง
เล่าเรื่องโดยสรุป
จุดประสงค์
ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจจุดประสงค์ของการเรียน
ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจโครงสร้างหรืองานเขียนหรือเนื้อความที่อ่าน
ช่วยขยายเนื้อความของเรื่องให้ชัดเจน
กิจกรรมหลังการอ่าน
ขั้นตอน
ให้แสดงบทบาทสมมติ
ให้เขียนเรื่องหรือเขียนโต้ตอบ
พูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
จุดประสงค์
ถ่ายโอนความรู้ในเรื่องที่อ่านได้
เชื่อมโยงความรู้เรื่องที่อ่านความคิดเห็นได
เทคนิคการสอนการอ่าน
Skimming
หรืออ่านแบบข้ามคำเป็นการอ่านเร็วคืออ่านด้วยความเร็ว เพื่อจับใจความสำคัญของเรื่องหรือรายละเอียดที่สำคัญบางอย่างเท่านั้น
อ่านชื่อเรื่อง
ดูภาพประกอบเพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติม
อ่านประโยคแรกและประโยคสุดท้ายของทุกย่อหน้า
อย่าอ่านทุกคำ ทุกประโยคให้ใช้สายตากวาดไปทั้งในเรื่องในเรื่องความสำคัญ
พิจารณาถึงความหมายของคำที่เลือกมา
Scanning
เป็นการอ่านที่ต้องการหาคำตอบที่ต้องการ เช่น คำศัพท์ ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง มุ่งหมายเพียงเพื่อค้นหาข้อมูลหรือคำตอบเฉพาะที่ต้องการ
ใช้สายตาอ่านอย่างรวดเร็วจนเจอสิ่งที่ต้องการ
ใช้ในต่างๆบนหน้านั้น เช่น หัวข้อและชื่อเรื่อง
Surveying
การอ่านแบบสำรวจเพื่อตรวจสอบดูก่อนอย่างรวดเร็วและคร่าวๆ ว่าเรื่องนั้นสมควรจะอ่านให้ละเอียดลึกซึ้งหรือไม่ ใช้กับเนื้อหาที่ค่อนข้างยาก
Intensive reading
คือ การอ่านแบบเข้มข้น มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาและละเอียดถี่ถ้วนความถูกต้อง เน้นเข้าใจเรื่องที่อ่านมากกว่าความเร็ว
SQ3R หมายถึงทักษะการศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคที่ใช้การอ่านหนังสือประเภทวิชาการ
แบ่งออกเป็น 5 ขั้น
Read คือ อ่าน ในขั้นนี้หมายถึงการอ่านเพื่อความเข้าใจและจับประเด็นสำคัญๆ
Recite ค่อ ท่อง เมื่ออ่านแต่ละบทควรหยุดท่องประเด็นสำคัญๆเพื่อให้จำได้
Question คือถามคำถามสำคัญเกี่ยวข้องโดยตรงกับใจความสำคัญๆในเรื่องที่อ่านว่าทำอะไร ทำไม อย่างไร ใคร เมื่อไร เกี่ยวข้องกับอะไร
Review คือ ทวน ทบทวนหัวข้อหรือประเด็นต่างๆ ที่ได้จดบันทึกไว้หลังจากที่ได้อ่านจบ
Survey คือ ดูเป็นการอ่านแบบผ่านไปคร่าว ๆ ก่อน
เทคนิคการสอนการอ่านเพื่อกระตุ้นความสนใจในการอ่าน
KWL และ KWL plus
ใช้กับงานเชียนนำเสนอข้อมูล ประถม-มหาวิทยาลัย
KWL
K (What do you know?) เป็นขั้นตอนก่อนการอ่านเรื่องที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดโดยอาศัยพื้นความรู้ต่างๆ
W (What do you want to know?) เป็นขั้นตอนระหว่างการอ่านของการตั้งวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของการอ่าน คือ ผู้เรียนคิดคำถามหรือข้อสงสัยต่างๆที่ผู้เรียนต้องการรู้
L (What did you learn?) เป็นขั้นตอนหลังการอ่านเรื่องแล้วผู้สอนให้ผู้เรียนบันทึกข้อมูลที่ได้จากการอ่าน
KWL Plus
ขั้น K เตรียมความรู้พื้นฐาน
ขั้น W
2.2เขียนคำถาม (สิ่งที่รู้)
2.3เรียนรู้หรือหาคำตอบ
2.1ตั้งจุดมุ่งหมายการอ่าน
ขั้น L เขียนคำตอบหรือบันทึกข้อมูล
ขั้นการเขียนสรุปและนำเสนอ
4.1ปรับแผนผังความคิด
4.2นำเสนอ
Story impressions
เป็นเทคนิคการสอนที่ดำเนินการก่อนการอ่านโดยผู้สอนเสนอคำศัพท์ให้ผู้เรียนคาดเดา ประถม-มหาวิทยาลัย
1.อ่านคำหรือวลีที่กำหนด
1.1 ควรเป็นคำหรือวลีที่ให้ข้อมูลของตัวละคร สถานที่ หรือส่วนสำคัญเค้าโครงเรื่อง สำหรับวลีที่เลือกมาควรมีความยาวไม่เกิน 3 คำ
1.2 จำนวนคำหรือวลี ไม่ควรเกิน 10-15 คำต่อ 1 เรื่อง แต่หากเป็นเรื่องที่มีความซับซ้อนอาจให้ได้ถึง 20 คำ
1.3 จัดวางคำหรือวลี ควรจัดวางตามลำดับของเหตุการณ์ อาจใช้ลูกศรแสดงความสัมพันธ์ของเรื่อง
กำหนดเรื่อง
หลังจากผู้เรียนอ่านคำหรือวลีแล้ว ผู้สอนให้ผู้เรียน
แสดงความคิดเห็น
อภิปรายเรื่องราวที่เกิดขึ้นโดยอาศัยคำหรือวลีที่ผู้สอนกำหนดให้ จากนั้นผู้เรียนช่วยกันเขียนเรื่อง เสร็จแล้วให้ผู้เรียน
อ่านเรื่อง
ที่แต่งขึ้นและให้ผู้อื่นสอบถามหรือ
อธิบายที่มาของเรื่อง
ที่แต่งขึ้น
3.
อ่านเรื่อง
ผู้เรียนอ่านเรื่องจากต้นฉบับ
พิจารณาความเหมือนหรือต่าง
ให้ผู้เรียนอธิบายความเหมือนหรือความต่างระหว่างเรื่องที่แต่งขึ้นจากการคาดเดากับเรื่องต้นฉบับ
จุดประสงค์
สร้างพื้นความรู้
สร้างวัตถุประสงค์ในการอ่าน
กระตุ้นความสนใจ
ประเมิน
ประเมินจากการแต่งเรื่องโดยใช้คำหรือวลีที่กำหนดให้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่
Directed Reading-Thinking Activity (DR-TA)
เป็นเทคนิคการสอนที่มึ่งพัฒนาการวิเคาะห์วิจารณ์ กระตุ้นกระบวนการคิดและมีปฏิสัมพันธ์กับเรื่องที่อ่าน
1.ผู้เรียนใช้บริบทของเนื้อเรื่องในการ
คาดเด
าและผู้สอนบันทึกลงบนกระดาน
2.
เปรียบเทียบ
ประเด็นของผู้เรียนหลังจากการอ่านและประเด็นที่คาดเดา ผู้สอนอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจว่าไม่ใช่สิ่งผิดปกติที่คาดเดาก่อนการอ่านจะไม่สอดคล้องกับหลังการอ่านแต่เป็นการ
ฝึกให้ผู้เรียนอ่านอย่างมีวัตถุประสงค์
3.ให้ผู้เรียน
คาดเดา
สิ่งที่จะเกิดขึ้นในย่อหน้าถัดไปพร้อมทั้งให้เหตุผลสนับสนุนการเดา
ผู้เรียนดำเนินการซ้ำจากข้อ 2-3 จนจบเนื้อเรื่องที่อ่าน
Question-Answer relationships (QARs)
เป็นการอ่านที่ช่วยให้ผู้เรียนวิเคราะห์และทำความเข้าใจในประเภทของคำถามเพื่อวัดความเข้าใจ
โดยมีคำถาม 2 ประเภท คือคำถามที่หาคำตอบได้โดยตรง และคำถามที่อาศัยความรู้และประสบการณ์ของผู้อ่าน
คำถามที่ต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์
Author and You
เป็นคำถามที่ผู้เรียนนำความรู้และประสบการณ์ของตน รวมกับข้อมูลจากเรื่องที่อ่านมาประสมกันเป็นคำตอบ
On my own
เป็นคำถามที่ไม่จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลจากเรื่องที่อ่านมาตอบ แต่ใช้ประสบการณ์ความรู้ที่เกี่ยวข้องมาตอบ
ฝึกแยกแยะประเภทคำถาม
Right there
Think and search
Author and you
On my own
คำถามที่หาคำตอบได้จากเรื่องที่อ่านได้โดยตรง
Right there
เป็นคำถามที่สามารถหาคำตอบได้จากเรื่องที่อ่านว่าอยู่ที่ใดของเรื่อง
Think and Search
สามารถหาคำตอบได้จากเรื่องที่อ่าน แต่หาความหมายคำ วลีมาประสมประสานกันเป็นคำตอบ
ฝึกตอบคำถาม