Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจขาดเลือด Ischemic Heart Disease(IHD) (ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลับ …
โรคหัวใจขาดเลือด
Ischemic Heart Disease(IHD)
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลับ
Acute coronary Syndrome (ACS)
ST elevation acute coronary syndrome
ภาวะหัวใจขาดเลือด ที่พบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีลักษณะ ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 2 leads ที่ต่อเนื่องกันหรือเกิด LBBB ขึ้นมาใหม่ ซึ่งเกิดการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจ
มาตรฐานการดูแล
สามารถทำ ECG ภายใน 5-10 นาที
ให้รับประทานยา aspirin (162-325mg.) เมื่อมาถึงโรงพยาบาล
ให้ยาละลายลิ่มเลือด หลัง on set STEMI เร็วที่สุดหรือภายใน 6-12 ชั่วโมง
ให้ยาละลายลิ่มเลือดเร็วที่สุดโดยยให้ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึง
โรงพยาบาลถึงเวลาที่ให้ยาน้อยกว่า 30 นาที
ทำการขยายหลอดเลือดแดงหัวใจตีบตันเร็วที่สุดด้วยบอลลูน PPCI ภายใน 90 นาที
Not ST elevation acute coronary syndrome
ภาวะหัวใจขาดเลือด ชนิดไม่พบ ST segment elevation มักพบ ลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ST segment depression หรือ T wave inversion
หากมีอาการเกิน 30 นาทีอาจจะเกิด กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัยชนิด Non-ST elevation MI (NSTEMI) หรือถ้าไม่รุนแรงเกิดภาวะเจ็บเค้นอกไม่คงที่ (Unstable angina)
พยาธิสภาพ
ระยะที่ 1 Fatty streak ลักษณะของคราบไขมันก่อตัวสะสมพอกในผนังชั้นในของหลอดเลือดแดง (intima)
ระยะที่2 Fibrous plaque การก่อตัวของคราบไขมันที่เพิ่มมมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง จะมี extracellular lipid core แทรกในsmooth muscle cell พอกทับ fatty streak กลายเป็น plaque
ระยะที่ 3 Ruptured plaque ที่มีการฉีกขาดหรือปริแตกกระตุ้นเกร็ดเลือด glycoprotein llb/llla receptor (GP llb/llla) ไปจับกับ fibrinogen จะทำให้เกิดการเกาะกลุ่มเป็นร่างใยแหของเกร็ดเลือดและกลายเป็นลิ่มเลือดขนาดใหญ่ทำให้อุดตันของลิ่มเลือดแดงโคโรนารี
อาการและอาการแสดง
หัวใจล้มเหลว น้ำท่วมปอดอย่างเฉียบพลัน
ใจสั่น เหงื่อออก คลื่นไส้อาเจียน
หน้ามืดเป็นลมหมดสติและเสียชีวิต
Chest pain
1)Typical angina
การเจ็บหน้าอกแบบเจ็บแน่นอยู่ใต้หน้าอก อาจร้าวไปร้าวไปแขน ไหล่ คอ
เป็น 15-10 นาที
อาการดีขึ้นเมื่อได้พักหรือการได้ยา Nitroglycerine
2) Atypical angina
มีลักษณะอากร 2 ข้อของ Typical angina
3) Non-Cardiac chest pain
มีลักษณะอาการไม่เกิน 1 ข้อของTypical angina
สาเหตุ
diabetes mellitus
Hypertension
ภาวะไขมันในเลือดสูง
(Hyperlipidemia)
smoking
obesity
stress
ประวัติควอบครัวที่เป็นโรคหัวใจ
อายุ
เพศชายอายุมากกว่า 40 ปี
เพศหญิงที่มีประจำเดือน
เพศ
เพศชาย>เพศหญิง
การละเลยการออกกำลังกาย
(lack of proper exercise)
แนวทางการรักษา
2) การรักษาโดยใช้บอลลูนถ่างขยายหลอดเลือดหัวใจ
Percutaneous Coronary Intervention (PCI)
3) การผ่าตัดทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
Coronary artery bypass graft (CABG)
1)การรักษาด้วยยา
Antiplatelets
Aspirine
Anticoagulants
Unfractionated heparin
Anti-ischemic drug
Bata blocker
Atenolol ,Propanolol, Metropolol
calcium blocker
Amlodipine, Felodipine
Nitrates
Isosorbride dinitrate, ISDN,Nitroglycerine
ข้อวินิจฉัยและ
กิจกรรมการพยาบาล
1)ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานจากการเจ็บหน้าอก (Chest Pain)
เนื่องจากการกำซาบของเลือดไปเลื้องกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ
o: ให้ออกซิเจน 2 ลิตร/นาที keep sat o2 มากกว่า92%
N=ดูแลให้ NTG อมใต้ลิ้นและตามด้วย NTG IV drip ถ้ายังมีอาการเจ็บหน้าอกหรือมีอาการหัวใจวาย
M=ให้ยาแก้เจ็บแน่นหน้าอก: Morphine 2-3 mg.IV dilute 10 ml.
A= ให้ Aspirin (160-325 mg) เคี้ยวแล้วกลืนทันที Clopidogrel (75mg)
sig 4 tabs oral stat
2)เสี่ยงต่อเนื้อเยื่อไปเลี้ยงไม่เพียงพอเนื่องจากปริมาณเลือดฉีดออกจากหัวใจ ใน 1 นาทีลดลง เนื่องจากการบีบตัวของหัวใจลดลง
3)เปิดเส้นให้ IV fluid และบริหารยาลด afterload vasodilate
4) ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
2) ช่วยแพทย์ในการใส่ pulmonary catheter
5)จัดท่านอนศีรษะสูง
1) ติดเครื่อง EKG monitor และประเมิน vital signs
6) ดูแลให้สารน้ำตามแผนการรักษา
7) EKG 12 lead
ระบบหัวใจและหลอดเลือด