Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง (การพยาบาล…
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง
สาเหตุ
Soft tissue trauma
Arterial injury
Burns
Lim compression during altered consciousness
Fractures
การรักษา
การป้องกันและเฝ้าระวัง
การลดควมดันในช่องกล้ามเนื้อ ได้แก่ การคลายผ้ายืด การคลายเฝือก หรือการผ่าตัด Fasciotomy
การจัดท่านอนให้อวัยวะที่บาดเจ็บยกสูงเพื่อการไหลกลับของเลือดและป้องการอาการบวม
การตรวจวัดความดันในช่อกล้ามเนื้อโดยค่าปกติ 0-8 mmHg ถ้ามากกว่า 30 mmHg ควรได้รับการผ่าตัด Fasciotomy
การประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง โดยใช้หลั 6Ps
การใส่เฝือก
แยกเฝือกออกจากกันหนึ่งด้านลดความดันได้ประมาณร้อยละ 30
ขยายเฝือกออกให้กว้าง ลดความดันได้ประมาณร้อยละ 65
นำเฝือกออกทั้งหมดจะลดความดันได้ประมาณร้อยละ 85
แยกสำลีรองเฝือกออกลดความดันได้ประมาณร้อยละ 10-20
การพยาบาล
ตรวจสอบ Capillary refill และดูแลการได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ประเมิน Pain score
ประเมินค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเบือดของปลายเท้าทั้ง 2 ข้างเพื่อเปรียบเทียบ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาลดปวดตามแผนการรักษา ได้แก่ Morphine และเฝ้าระวังอาการข้างเคียงจากการได้รับยา
จัดท่านอนยกอวัยวะที่บาดเจ็บสูงเพื่อเพิ่มการไหลเวียนและป้องกันอาการบวม
ประเมินอาการและอาการแสดงของการขาดเลือดที่อวัยวะส่วยปลายและภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูงด้วยกลัก 6Ps
ปัญหาการพยาบาล
เสี่ยงต่อการสูญเสียอวัยวะเนื่องจากมีภาวะความดันในช่อกล้ามเนื้อสูง
ไม่สุขสบายจากความปวดเนื่องจากภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง
พยาธิสภาพโรค
เมื่อเกิดการบาดเจ็บร่างกายจะมีการอักเสบ โดยกระคุ้น sympathetic nerve ให้มีการหลั่ง histamine complement proteins kinins และprostaglandin หลอดเลือดมีการขยายตัว ทำให้มีอาการแดงร้อน เพิ่มความต้องการออกซิเจนและพลังงาน หลอดเลือดมีการสูญเสียความสามารถในการซึมผ่าน โดยซึมผ่านออกนอกหลอดเลือดมากขึ้น มีการกระตุ้น neutrophil และ monocyte ทำให้เกิดการอักเสบ (exudate) ก่อให้เกิดการรั่งของโปตีนซึมผ่านพื้นที่ว่างระหว่างเนื้อเยื่อ ทำให้เนื้อเยื่อมีอาการบวมและเพิ่มความดันภายในช่องกล้ามเนื้อมากยิ่งขึ้น ทำให้เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดลง เกิดการขาดเลือดและออกซิเจน
อาการและอาการแสดง
ปวด(pain) , อัมพาาต(paralysis) กล้ามเนื้อขาดเลือดไปเลี้ยง, จากเส้นประสาทถูกทำลาย, ชา(paraesthesia) การรับสัมผัสลดลง ไวต่อการกระตุ้นหรืออาจสูญเสียการสัมผัส, ชีพจร(pulses and capillary refill),ซีด(pallor)และอุณหภูมิ(temperature) มรอาการซีดและเย็น บอกถึงเลือดแดงไปลั้นงไม่เพียงกอ บวม(swelling) โดยผู้ป้วยจะมีอาการบวมเช่น เผือกหรือพันผ้า