Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ปัญญานิยม (Cognitive theory) (ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม…
ทฤษฎีการเรียนรู้ปัญญานิยม (Cognitive theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูนเนอร์
เจโรม บรูนเนอร์
การเรียนรู้โดยการค้นพบ
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
หลักการ
ขั้นการกระทำ (Enactive mode)
ขั้นจินตนาการ (Iconic mode)
ขั้นการใช้สัญลักษณ์ (Symbolic mode)
การประยุกต์ใช้ในการสอน
ครูควรเข้าใจพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของผู้เรียน
เน้นความสำคัญของผู้เรียน
เริ่มจากประสบการณ์ใกล้ตัว ไปหาประสบการณ์ไกลตัว
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเลวิน
เคิร์ท เลวิน
ทฤษฎีสนาม (Field theory)
หลักการ
พฤติกรรมของคนมีพลังและทิศทาง
เป็นบวกเมื่ออยู่ในความต้องการ
เป็นลบเมื่ออยู่นอกเหนือจากความต้องการ
การประยุกต์ใช้ในการสอน
สร้างบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง
เปิดโอกาสในการอภิปรายในชั้นเรียนฃ
กำหนดบทเรียนอย่างมีโครงสร้าง
คำนึงถึงเจตคติของผู้เรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของโทลแมน
เอ็ดเวิร์ด ซี โทลแมน
ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign theory)
การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง
การทดลอง
ฝึกให้หนูวิ่ง โดยใส่อาหารในทางด้านขวาของเขาวงกตรูปตัว T
การประยุกต์ใช้ในการสอน
สร้างแรงขับให้กับผู้เรียน
ใช้เครื่องชี้ทางในการสอน
ปรับเปลี่ยนสถานการณ์ในการเรียนรู้
ทดสอบผู้เรียนบ่อยๆ หรือติดตามผลระยะยาว
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
อัลเบิร์ต แบนดูรา
การเรียนรู้ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ
หลักการ
B = E x P
การทดลอง
เด็กที่อยู่ในกลุ่มที่มีตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวจะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
การประยุกต์ใช้ในการสอน
บ่งชี้วัตถุประสงค์ที่จะให้นักเรียนแสดงพฤติกรรม
แสดงตัวอย่าง และให้คำอธิบายควบคู่กันไป
จัดเวลาให้นักเรียนมีโอกาสแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ
เสริมแรงแก่นักเรียนที่สามารถเลียนแบบได้อย่างถูกต้อง
ทฤษฎีการเรียนรู้ของออซูเบล
เดวิด ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ผู้สอนอธิบายสิ่งที่ต้องเรียนรู้ให้ทราบและผู้เรียนก็รับฟังด้วยความเข้าใจ
หลักการ
เรียนรู้อย่างมีความหมาย
ท่องจำ
ค้นพบอย่างมีความหมาย
ค้นพบแบบท่องจำ
การประยุกต์ใช้ในการสอน
จัดเรียบเรียงข้อมูลที่ต้องการให้เรียนรู้ออกเป็นหมวดหมู่
นำเสนอกรอบหลักการกว้าง ๆ ก่อนที่จะให้เรียนรู้ในเรื่องใหม่
แบ่งบทเรียนเป็นหัวข้อที่สำคัญ และบอกให้ทราบ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์
เกิดจากการรับรู้โดยส่วนรวมก่อนแล้วจึงวิเคราะห์ส่วนย่อย
หลักการ
การรับรู้ (perception)
กฎแห่งความแน่นอน
กฎความใกล้ชิด
กฎความคล้ายคลึง
กฎความต่อเนื่อง
กฎความง่าย
กฎการปิดล้อม
การหยั่งรู้ (Insight)
การประยุกต์ใช้ในการสอน
สอนหัวข้อใหญ่ก่อน แล้วจึงสอนหัวข้อย่อย
แมกซ์ เวอร์ไทม์เมอร์, วูล์ฟแกงค์ โคเลอร์, เคิร์ท คอฟฟ์กา