Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเขียนรายงานวิจัยและการนำเสนอผลการวิจัย ((รายงานวิจัยก่อให้เกิดการสั่งสม…
การเขียนรายงานวิจัยและการนำเสนอผลการวิจัย
เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการวิจัย ซึ่งจะต้องนำเสนอข้อมูลรายละเอียดทั้งหมดของการดำเนินการวิจัยไว้เป็นหลักฐาน
เป็นกระบวนการที่้เป็นวิทยาศาสตร์และเป็นระบบให้เรื่องราวที่นำมาเขียนรายงาน
เป็นข้อเท็จจริงหรือความรู้อันเกิดจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการค้นคว้าตามกระบวนการวิจัยที่จะเป็นวิทยาศาสตร์และเป็นระบบ
เป็นการเรียบเรียงเอกสารขึ้นมาเพื่อนำเสนอเรื่องราวที่เป็นผลการศึกษาค้นคว้าและดำเนินการอย่างมีระเบียบแบบแผน
ความหมาย
รายงานวิจัยก่อให้เกิดการสั่งสมและขยายพรหมแดนขององค์ความรู้ในศาตร์ต่างๆ
รายงานวิจัยก่อให้เกิดการยกระดับหรือพัฒนาวิชาชีพดังกล่าวให้มีมาตรฐานสูงขึ้นเรื่อยๆ
รายงานการวิจัยเป็นสื่อกลางสร้างความเข้าใจ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
เป็นหลักฐานทางประวัติศาตร์ที่นักวิชาการศึกษาใช้อ้างอิงและตรวจสอบได้
รายงานวิจัยเป็นเอกสาร หลักฐานที่แสดงถึงข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าของผู้วิจัย
รายงานวิจัยเป็นเอกสารที่ผู้วิจัยเรียบเรียงขึ้นเพื่อนำเสนอให้ผู้สนใจได้ทราบเหตุผลและที่มาของปัญหา
สาระของรายงานวิจัยในแต่ละหัวข้อจะมีลักษณะเฉพาะที่เป็นเอกภาพและแตกต่างกัน แต่จะมีความสัมพันธ์กันระหว่างแต่ละหัวข้อ
เป็นกระบวนการที่จะต้องดำเนินการตามรูปแบบและวิธีการที่ได้กำหนดไว้ โดยเป็นเรื่องราวที่เป็นผลจากการค้นคว้าทางวิชาการ แล้วนำมาเรียบเรียงอย่างมีแบบแผน
ปกใน
บทคัดย่อ
ใบรองปก
กิตติกรรมประกาศ
ปกนอก
สารบัญ/สารบัญตาราง/สารบัญรูปภาพ/สารบัญแผนภูมิ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ต้องระบุประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ให้ชัดเจน เพื่อที่จะได้ทราบว่า งานวิจับได้ศึกษากับใคร มีจำนวนเท่าใด
เครื่องมือที่ใช้
รูปแบบการวิจัย
การเก็ญรวบรวมข้อมูล
การพิจารณาจริยธรรมการวิจัย
สถิติบรรยาย
สถิติอ้างอิง
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ควรมีหลายๆเรื่องอาจนำเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ นำเสนอต่อกันไปในแต่ละเรื่อง และต้องอธิบายข้อมูลที่นำมาเสนอเท่านั้น
การทบทวนวรรณกรรมต่างๆ การเขียนเอกสารที่เกี่ยวข้องควรสรุปเป็นคำพูดของตนเอง เขียนต่อเนื่อง
นำผลที่ได้มาสรุปอย่างย่อๆ
การสรุปอาจเป็นความเรียงต่อๆกันไป
สรุปผลตามวัตถุประสงค์การวิจัย
ส่วนแสดงความคิดเห็นถ้าไม่รู้จะเขียนอะไร ให้นำมาเขียนเป็นแนวคิดของตัวเอง ไม่ต้องอ้างอิง
ทฤษฎีหรืองานวิจัย ถ้าเป็นงานวิจัยเชิงทดลอง ที่นำมาเสนอควรเป็นงานวิจัยที่มีตัวแปรต้น และตัวแปรตามเหมือนกัน ส่วนงานวิจัยเชิงสำรวจ งานวิจัยที่จะนำมาเสนอต้องมีตัวแปรที่ศึกษาเหมือนกัน
ผลการวิเคราะห์ เมื่อนำมาเขียนไม่ต้องเขียนคำว่า "จากตาราง 1 พบว่า..."
วัตถุประสงค์ ต้องสอดคล้อง สัมพันธ์ ระบุอย่างชัดเจนว่าต้องการศึกษาอะไร กับใคร ที่ไหน
คำถามการวิจัย
ความเป็นมาและความสำคัญ
สมมติฐานการวิจัย เป็นการคาดคเนของผลกาวิจัยไว้ล่วงหน้า
ข้อตกลงเบื้องต้น
ขอบเขตการวิจัย
คำจำกัดความที่ใช้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ที่ได้รับโดยตรงมากที่สุด/สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
เป็นภาษาที่เชื่อถือได้
เป็นประโยคที่สมบูรณ์
เห็นลักษณะของตัวแปร
กะทัดรัด ชัดเจนในตัวเอง
เตรียมเนื้อหาของการนำเสนอ
เตรียมรายงานถึงสรุปผลกสรวิจัย
เตรียมการพูด กล่าวนำ
เตรียมการตั้งคำถาม
การวางแผนการนำเสนอ
วางแผนเวลาที่ใช้นำเสนอ
มีการเตรียมนำเสนออย่างจริงจัง
วางแผนกำหนดโครงร่างอย่างรอบคอบ
วางแผนการใช้สื่อ
การพูดออกเสียงชัดเจน
อย่าใช้อุปกรณ์ที่ไม่เกิดความคล่องแคล่ว
อย่านำเสนอตารางที่มีความซับซ้อน
อย่าอ่านเอกสารแทนคำพูด
อย่าใช้ลูกเล่นของ point เพิ่มสีสัน
ไม่ควรใช้เวลาเกินกำหนด
อย่าใช้วาจายกตน อย่าใช้วาจาดูถูกผู้ฟัง
ประโยชน์
(1)รูปแบบและวิธีการเขียนรายงานวิจัย
(2) ลักษณะการเขียนรายงานวิจัย
2.1 ส่วนตอนต้น หรือส่วนนำ
2.2 ส่วนเนื้อเรื่อง/เนื้อหา ประกอบด้วย 5 บท
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
การเขียนชื่อเรื่องวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
สรุปผลการวิจัย/อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
ข้อควรคำนึงในการอภิปรายผล
การเตรียมการนำเสนอ
การนำเสนอ
สิ่งที่พึงปฏิบัติ
สิ่งที่ไม่พึงปฏิบัติ