Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทสินเชื่อ (จำแนกตามลักษณะการใช้เงินทุนของผู้ใช้สินเชื่อ…
ประเภทสินเชื่อ
จำแนกตามลักษณะการใช้เงินทุนของผู้ใช้สินเชื่อ
สินเชื่อเพื่อการบริโภค
สินเชื่อเพื่อธุรกิจ
สินเชื่อรัฐบาลหรือสินเชื่อสาธารณะ
สินเชื่อเพื่อการผลิต
สินเชื่อภาครัฐบาลหรือหนี้สาธารณะ (Public credit)
คือ หน่วยงานของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจที่มีการกู้ยืมเงินจากทั้งในปละต่างประเทศเพื่อนำเงินมาพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
สาเหตุที่เกิดการกู้ยืมของรัฐบาล
การกู้ยืมเพื่อส่งเสริมการลงทุน
ดุลการชำระเงินขาดดุล
งบประมาณขาดุล รายรับไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย
เกิดภาวะสงคราม
การจำแนกสินเชื่อของภาครัฐบาล
แบ่งตามลักษณะหนี้
หนี้เบื้องต้น
หนี้เงินกู้ทั้งหมดของรัฐบาลในขณะใดขณะหนึ่ง เป็นหนี้ที่เกิดขึ้นโดยการขายหลักทรัพย์ของรัฐบาล
หนี้สุทธิ
หนี้เบื้องต้นหักด้วยเงินทุนที่กันไว้ เพื่อการชำระหนี้ และหักด้วยเงินคงคลังที่มีอยู่ในขณะนั้น
แบ่งตามลักษณะการจำหน่าย
หนี้ที่จำหนายได้
ผู้ที่ถือพันธบัตรรัฐบาลจะขายพันธบัตรให้แก่ใครก็ได้ที่ต้องการซื้อ
หนี้ที่จำหน่ายไม่ได้
ผู้ถือจะขายหรือไถ่ถอนคืนให้ได้เฉพาะกับรัฐบาลผู้ออกพันธบัตรเท่านั้น
แบ่งตามระยะเวลาการชำระคืนของการกู้
หนี้ระยะสั้น
หนี้ที่มีระยะเวลาในการชำระคืนภายในเวลาไม่เกิน 1 ปี
การกู้ยืมโดยการใช้ตั๋วเงินคลัง (ตั๋วเงินคลังมักจะมีอายุไม่เกิน 1 ปี)
หนี้ระยะยาว
เป็นหนี้ที่กำหนดชำระคืนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป โดยมากมักจะอยู่ในระหว่าง 10 - 20 ปี
พันธบัตรออมทรัพย์
พันธบัตรลงทุน
พันธบัตรรับบาล
แบ่งตามวิธีการก่อหนี้สาธารณะ
ตามเหตุผล และเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น
แบ่งตามแหล่งที่มาของเงินกู้
หนี้ภายในประเทศ
เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลกู้เงินจากแหล่งเงินต่างๆภายในประเทศ
กู้จากธนาคารแห่งประเทศไทย
การพิมพ์ธนบัตรเพิ่มขึ้น
กู้จากธนาคารพาณิชย์ และสถาบันการเงินอื่นๆ
การขายพันผธบัตรรัฐบาลและหลักทรัพย์รัฐบาล
หนี้ภายนอกประเทศ
หนี้ที่รัฐบาลขอแกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ
แบ่งตามความมุ่งหมายของการกู้
กู้เพื่อเหตุผลพิเศษ
กู้เมื่อมีความจำเป็นบังคับ
กู้เพื่อการลงทุน
กู้เมื่อมีมีรายได้ไม่เพียงพอ
แหล่งเงินกู้ของสินเชื่อรัฐบาล
แหล่งเงินกู้ภายในประเทศ
แหล่งเงินกู้ระยะสั้น
กู้จากธนาคารออมสิน
ออกพันธบัตรเงินกู้ขายให้กับธนาคารออมสิน
กู้จากธนาคารพาณิชย์
ออกพันธบัตรเงินกู้ขายให้กับธนาคารพาณิชย์
กู้จากธนาคารแห่งประเทศไทย
ขายพันธบัตรให้ธนาครแห่งประเทศไทย
แหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ
กู้เงินจากรัฐบาล ธนาคาร หรือสถาบันการเงินต่างประเทศ
จำแนกตามหลักประกัน
สินเชื่อแบบมีหลักประกัน
การให้สินเชื่อที่มีหลักทรัพย์หรือบุคคลและนิติบุคคลค้ำประกัน ในลักษณะการจำนอง จำนำหรือค้ำประกัน
สินเชื่อที่ไม่มีหลักประกัน
การให้สินเชื่อโดยไม่ต้องมีหลักทรัพย์หรือบุคคลค้ำประกัน ในกรณีที่ผู้ขอสินเชื่อมีความสามารถในการดำเนินธุรกิจ
จำแนกตามระยะเวลาการชำระคืนหรือลักษณะการให้บริการ
เงินกู้ระยะสั้น
มีกำหนดระยะเวลาในการชำระคืนภายในหนึ่งปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนของธุรกิจ
เงินกู้เบิกเกินบัญชี (Over Draft : O/D)
เป็นสินเชื่อเพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนของธุรกิจ โดยทำการกู้ยืมเงินจากธนาคารในบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน
สินเชื่อซื้อลดตั๋วเงิน
เป็นสินเชื่อที่สถาบันการเงินให้แก่ลูกค้าที่นำ "ตั๋วเงิน" มาขายเพื่อนำเงินไปใช้หมุนเวียนในการทำธุริจในราคาที่ต่ำกว่าหน้าตั๋ว
เงินกู้ระยะยาว
มีระยะเวลาการชำระคืนเกินกว่า 1 ปีขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์การกู้ยืมเพื่อการลงทุนในสืนทรัพย์ถาวร
มีสัญญาเงินกู้หรือหนังสือค้ำประกันเป็นเอกสารนิติกรรมของการกู้ยืม
จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการขอสินเชื่อ
ขึ้นอยู่กับความต้องการของ
ผู้ใช้สินเชื่อ
เรียกชื่อผลิตภัณฑ์ตามสัตถุประสงคฺของสินเชื่อ
สินเชื่อวิวาห์เปี่ยมสุขของธนาคารไทยพาณิชย์ สำหรับคู่รักที่มีโครงการแต่งงานในอนาคต
ผู้ให้สินเชื่อ
จำแนกตามแหล่งที่มาของผู้ให้สินเชื่อ
จำแนกตามสถาบันการเงินผู่ให้สินเชื่อ เนื่องจากมีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงานที่ต่างกัน
สถาบันการเงินที่ไม่รับฝากเงิน
เพื่อให้สินเชื่อหรือรับประกันสินเชื่อให้แก่ลูกค้าเฉพาะกลุ่ม โดยสินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน
สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนาดย่อม
สินเชื่อเพื่อขยายที่อยู่อาศัย
สินเชื่อเพื่อการส่งออกและนำเข้า
ประกันสินเชื่อรถยนต์
บริษัทเงินทุน
ให้กู้ยืมระยะปานกลางและระยะยาวแก่อุตสาหกรรมเกษตรหรือพาณิชยกรรม
การให้เช่าซื้อ
การให้เช่าทรัพย์
สินเชื่อเพื่อการลงทุน
รีไฟแนนซ์
สถาบันการเงินที่รับฝากเงิน
เพื่อให้ธุรกิจมีความคล่องตัวในการดำเนินงาน
สินเชื่อเพื่อการลงทุน
สินเชื่อเกี่ยวกับที่ดิน
สินเชื่อเพื่อธุรกิจ
สินเชื่อเพื่อการค้า
สินเชื่อระยะปานกลาง
สินเชื่อเพื่อการผลิต
ตอบสนองความเป็นอยู่ในการดำรงชีวิต
สินเชื่อเพื่อการบริโภค
องค์กรที่ไม่หวังผลกำไร
มีเป้าหมายเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน สิ่งแวดล้อม
สินเชื่อเพื่อชุมชนเมืองและชนบท
สินเชื่อเพื่อธุรกิจสังคม
ธุรกิจการค้า
สินเชื่อที่ให้เพื่อนำไปใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบและเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆเพื่อนำไปผลิตสินค้าและบริการ
สินเชื่อเพื่อการค้า
สินเชื่อเพื่อการผลิต
ธุรกิจเอกชน
ผู้บริโภคคนสุดท้ายใช้สินเชื่อเพื่อตอบสนองการดำรงอยู่ในชีวิตประจำวันรวมทั้งการกู้ยืมเงินสด
สินเชื่อเงินสด
สินเชื่ออเนกประสงค์
สินเชื่อส่วนบุคคล
สินเชื่อเช่าซื้อ
สินเชื่อเพื่อการบริโภค
สถาบันการเงินในประเทศและต่างประเทศ
เป็นสินเชื่อที่รัฐบาลหามาเพื่อสร้างประโยชน์ให้แก่สาธารณชน เช่น สร้างถนน โรงพยาบาล โรงเรียน เป็นต้น
สินเชื่อสาธรณะในรูปของ ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรรัฐบาล
สินเชื่อรัฐบาล
สินเชื่อภาคเอกชน (Private credit)
คือ การที่บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล มีการลงทุนทำธุรกิจผลิตหรือซื้อสินค้าและบริการเป็นเงินเชื่อ หรือใช้สินเชื่อในการใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค
สินเชื่อเพื่อธุรกิจ
สินเชื่อที่ให้โอกาสกับธุรกิจทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ให้โอกาสได้รับเงินลงทุน
สินเชื่อระยะปานกลาง
ระยะเวลาของสินเชื่อตั้งแต่ 1 - 5 ปี
สินเชื่อเพื่อการค้า
สินเชื่อเพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบหรือสินค้าสำเร็จรูปจากอุตสาหกรรม
สินเชื่อเพื่อการลงทุน
เป็นการจัดหาเงินทุนระยะยาวโดยการกู้ยืมเพื่อนำไปซื้อสินทรัพย์ถาวร และนำไปใช้ในการดำเนินงานของกิจการ
สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์
เป็นผู้กระจายเงินลงทุนไปยังภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม
การให้กู้ยืม
สินเชื่อระยะปานกลาง (ชำระคืนภายใน 1-3 ปี)
สินเชื่อระยะยาว (ชำระคืนตั้งแต่ 5 ปี)
สินเชื่อระยะสั้น (ชำรำคืนภายใน 1 ปี)
การรับซื้อลดตั๋วเงิน
การเบิกเงินเกินบัญชี
เป็นการให้กู้ยืมเงินจากจำนวนเงินฝากในบัญชีเดินสะพัดหรือบัญชีกระแสรายวันตามวงเงินที่กำหนดได้
การสั่งเข้าและการส่งออก
Trust Receipt (T/R)
เป็นบริการที่ธนาคารเสนอสินเชื่อให้แก่ผู้นำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ถือเป็นการให้กู้ยืมเงินระยะสั้นเพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการนำเข้าวัตถุดิบและใช้ผลิตสินค้า
Packing Credit (P/C)
เป็นสินเชื่อระยะสั้น (ไม่เกิน 180 วัน) ที่ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยช่วยเหลือแก่ผู้ส่งออก เพื่อส่งเสริมการส่งสินค้าไปจำหน่ายยังต่างประเทศ
Letter of Credit (L/C)
การที่ธนาคารเสนอสินเชื่อให้แก่ผู้นำเข้ามีการตกลงซื้อสินค้าจากต่างประเทศโดยเลือกวิธีการชำระเงินแบบเล็ตออฟเครดิต
หลักในหารพิจารณาสินเชื่อ
สินเชื่อเพื่อการหมุนเวียนระยะสั้น
พิจารณาสภาพคล่อง
พิจารณาการเคลื่อนไหวของธุรกิจ
พิจารณาคุณค่าทางเครดิต
สินเชื่อระยะปานกลางและระยะยาว
พิจารณาสภาพคล่อง
พิจารณาความสามารถชำระหนี้
พิจารณาคุณค่าทางเครดิต
พิจารณาความสามารถในการทำกำไร
สินเชื่อที่ธนาคารร่วมกันให้
การให้สินเชื่อร่วมกันของสถาบันการเงินหลายสถาบันแก่ผู้ขอสินเชื่อรายเดียว
สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์
การให้กู้ยืมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการซื้อและเพื่อการก่อสร้างที่อยู่อาศัย สำนักงานและสิ่งก่อสร้างต่างๆ
สินเชื่อเพื่อการเคหะ
มีระยะเวลาการผ่อนชำระคืนที่ยาวเป็นพิเศษ
สินเชื่อเพื่อการก่อสร้าง
สินเชื่อระยะสั้น เพื่อใช้จ่ายในการก่อสร้าง
สินเชื่อประเภทเรียกชำระคืน
สินเชื่อที่ธนาคารสามารถเรียกให้ชำระคืนได้ทุกเวลา
สินเชื่อเพื่อการเกษตร
สินเชื่อระยะปานกลาง
เพื่อลงทุนในสินทรัพย์ทางเกษตร
สินเชื่อระยะยาว
เพื่อลงทุนซื้อที่ดิน ผรับปรุง ก่อสร้าง
สินเชื่อระยะสั้น
ใช้ในการผลิตและการหาตลาด
สินเชื่อมีกำหนดระยะเวลาการชำระคืนเงินต้นที่แน่นอน
สินเชื่อตลาดเปิด
ใช้สินเชื่อเพื่อธุรกิจที่มีชื่อเสียง และฐานะการเงินที่มั่นคงและเป็นที่ยอมรับในวงการธุรกิจทั่วไป
สินเชื่อเพื่อเงินทุนหมุนเวียน
สินเชื่อที่ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนของกิจการ
สินเชื่อซื้อลดตั๋วเงิน
สินเชื่อแฟ๊กเตอริ่ง
สินเชื่อเพื่อการบริโภค
เป็นสินเชื่อที่ให้แก่บุคคลธรรมดาที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อนำไปใช้ในการประกอบธุรกิจ
สินเชื่อที่ต้องผ่อนชำระตามกำหนดการชำระคืน
สินเชื่อที่ผู้กู้มีกำหนดระยะเวลาการผ่อนคืนเงินต้นเป็นเวลาที่แน่นอนตายตัว
สินเชื่อประเภทหมุนเวียน
ใช้สามารถเบิกถอนและชำระคืนตราบเท่าที่ไม่เกินวงเงินสูงสุดที่ได้รับอนุมัติจากธนาคาร
สินเชื่อค้าปลีก
สินเชื่อทั่วไปเกี่ยวกับการขายสินค้า
การเปิดบัญชีแบบต่อได้
เป้นการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ โดยลูกค้ามีสิทธิซื้อได้อีกแม้ว่ายังไม่ชำระหนี้ครั้งแรก
สินเชื่อผ่อนส่ง
การซื้อขายสินค้าโดยแบ่งชำระค่าสินค้าเป็นงวดๆ
การเปิดบัญชี
ลูกค้าจะเปิดบัญชีซื้อเชื่อกับร้านค้า
บัตรเครดิต
เป็นสินเชื่อที่ช่วยให้เกิดความคล่องตัวในการบริโภคโดยไม่ต้องถือเงินสด
สินเชื่อรถยนต์
สัญญาที่เจ้าของทรัพย์สินรถยนต์มอบให้บุคคลอีกฝ่ายหนึ่งใช้ประโยชน์จากรถยนต์นั้นได้ โดยมีเงื่อนไขและข้อจำกัดตามที่ระบุในสัญญา
สินเชื่อส่วนบุคคล
สินเชื่อที่ให้กู้ยืมแก่บุคคลเพื่อนำไปใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภค เป็นสินเชื่ออเนกประสงค์ใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ส่วนบุคคลอาจถูกนำไปใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าหรือบริการในการดำรงชีวิตประจำวัน
เหตุผลที่ให้สินเชื่อ
ปรับปรุงวิธีการดำรงชีวิต
ความจำเป็นบังคับ
ต้องการความสะดวกสบาย