Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การวิเคราะห์เนื้อหา (:star: หลักเกณพ์เลือกเนื้อหาวิชา (1.…
บทที่ 5 การวิเคราะห์เนื้อหา
:<3:
ความหมายของการวิเคราะหืเนื้อหา
การวิเคราะหืเนื้อหา (Content Analysis)
เป้นวิธีการทางสังคมศาสตร์เพื่อการศึกษาเนื้อหาของการสื่อสาร เพื่อแบ่งเนื้อหาทำให้ทราบโครงสร้าง ลำดับ และขอบเขตของเนื้อหา สำหรับผู้สอนจึงมักวิเคราะห์ออกมาเป้นหัวเรื่อง หัวเรื่อยย่อย หัวข้อย่อย รวมทั้งปริมาณ เช่น จำนวนคิด จำนวนหน้า เป็นต้น
:check:
การวิเคราะหืเนื้อหา กับผู้สอน
ผุ้สอนควรจะทำการวิเคราะหืเนื้อหาก่อนทำการสอน
เพราะจะทำให้ผู้สอนสามารถแบ่งเโครงสร้างนื้อหาออกเป็นส่วนส่วนได้ และสามารถเรียงลำดับเนื้อหาที่จะสอนได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะทำให้ผู้สอนสามารถสอนผู้เรียนได้ตรงประเด้นเนื้อหา ไม่วกไปวกมา อีกทั้งทำให้ผุ้เรียนสามารถเข้าใจบทเรียนได้อย่างง่ายมากขึ้นอีกด้วย
:star:
หลักเกณพ์เลือกเนื้อหาวิชา
1. มีความสำคัญต่อการเรียนรู้
ควรสอนเนื้อหาที่มีความสำคัญ และจำเป็นต่อผู้เรียนจริง ที่สามารถนำไปใช้ในระดับสูงขึ้นไป หรือนำไปประกอบอาชีพ
2. มีประโยชน์
เนื้อหาที่จะนำมาไว้ในหลักสูตรจะต้องมีประโยชน์ต่อผู้เรียนและสามารถพัฒนาสังคมด้านต่างๆ ได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต
3. มีความสอดคล้อง
ทั้งเป้าหมายของการศึกษา ความสนใจและวุฒิภาวะผู้เรียน และความเป็นจริงในสังคม
4. ครอบคลุมความรู้หลายๆด้าน และต้องสนองจุดประสงค์ได่อย่างหลากหลาย
ครอบคลุมทั้งพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย และมีความสมดุลระหว่างความกว้างและความลึกของเนื้อหาด้วย
5. มีความถูกต้อง ทันสมัย และมีแก่นสารที่น่าเชื่อถือ
เนื้อหาที่จะนำมาบรรจุไว้ในหลักสูตรควรมีความทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในปัจจุบัน อีกทั้งจะต้องเป็นเนื้อหาที่มีความน่าเชื่อถือ และมีประโยชนืทั้งต่อผู้เรียน และสังคม
6. มีความน่าสนใจ
เนื้อหาที่เลือกควรจะเลือกตามธรรมชาติ และความสนใจของผู้เรียน เพราะผู้เรียนจะเรียนได้ดีที่สุดในสิ่งที่ตัวเองชอบ ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ และสร้างความเข้าใจในการเรียนมากขึ้น
7. เป็นสิ่งที่เรียนรู้ได้
ควรกำหดเนื้อหาที่มีความเหมาะสมกับช่วงวัฒนา ของพัฒนาการของผู้เรียน ไม่ควรกำหนอเนื้อหาเกินความสามารถหรือพัฒนาการของผู้เรียน ซึ่งจะทำให้กระบวนการเรียนการสอนใช้เวลามาก และไม่เกิดประโยชน์
8. เป็นสิ่งที่สามารถจัดให้ผู้เรียนได้
เนื้อหาที่จะนำมาบรรจุในหลักสูตรจะต้องมีความพร้อมทั้งด้านเวลา สถานที่ ผู้าอน ผู้เรียน วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น
:star:
ประเภทของเนื้อหา
เนื้อด้านทักษะและการปฏิบัติ P
เนื้อหาด้านเจตคติ A
เนื้อหาด้านความรู้ความเข้าใจ K
:check: :green_cross:
โครงสร้างเนื้อหาตามแนวนอน และแนวตั้ง และอบบผสม
แนวตั้ง
มีการเรียนลำดับนำเสนอตามลำดับขั้นตอน จากสิ่งใหญ่ไปเล็ก หรือจากสิ่งเล็กไปใหญ่
แนวนอน
เนื้อหาย่อยจะไม่มีการเรียนลำดับ เรียนสิ่งไหนก่อนก็ได้ เพราะมีความสำคัญเท่ากัน
แบบผสม
ผสมทั้งโครงสร้าเนื้อหาแบบแนวตั้งและแนวนอนเข้าด้วยกัน นำเสนอทั้งเป็นลำดับ และไม่เป็นลำดับ
:star:
การจัดเนื้อหาวิชา
จัดลำดับเนื้อหาจากง่ายไปยาก
จัดลำดับเนื้อห่ที่ควรเรียนก่อน และหลัง
จัดลำดับเนื้อหาตามลำดับกาลเวลา
จัดลำดับเนื้อหาจากส่วนรวม ไปสู่ส่วนย่อย
จัดลำดับตามหัวเข้อ หรือหัวเรื่อง
จัดลำดับสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว ไปสิ่งที่อยู่ไกลตัว
การจัดเนื้อหาโดยมุ่งขยายความรู้ด้านพุทธิพิสัย
:star:
องค์ประกอบของการวิเคราะห์เนื้อหา (สื่อ)
1. เนื้อหาที่จะวิเคราะห์
ในที่นี่จะเป็นข้อความในตำรา หนังสือ เป็นต้น
2. วัตถุประสงค์ในการวิเคาะห์
โดยทั่วไปในการทำสื่อการสอนจะวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อแบ่งโครงสร้าง และดำดับเนื้อหา
3. หน่วยในการวิเคราะห์
เพื่อใช้แสดงปริมาณของการวิเคราะห์ ว่ามีอะไรบ้าง เช่น หัวเรื่อง หัวเรื่องย่อน หัวข้อย่อย เป้นต้น
:star:
ขั้นตอนการวิคราะหืเนื้อหา
ขั้นที่ 1 การสร้างแผนภูมิระดมสมอง
ในเรื่องที่ควรจะสอนในวิชานั้น
ขั้นที่ 2 การสร้างแผนภูมหัวเรื่องสัมพันธ์
นำแผนภูมิระดมสมองมาวิเคราะห์หลักการ ทฤษฎี ในขั้นนี้อาจมีการเพิ่มหือตัวหัวเรื่องตามความเหมาะสม
ขั้นที่ 3 การสร้างแผนภูมโครงข่ายเนื้อหา
จากแผนภุมิที่ 2 ขั้นนี้จะเป็นการเรียนลำดับเนื้อหาก่อน-หลัง และความต่อเนื่องของเนื้อหา
:star:
ขั้นตอนการวิเคระหืเนื้อหา (สื่อ)
1. ศึกษาเนื้อหาจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
เพื่อให้ได้เนื้อหาที่ครบถ้วน และไม่ซ้ำ
2. ศึกษาวัตถุประสงค์การเรียน
เพื่อให้ทราบถึงขอบเขตเนื้อหา และเรื่องที่ต้องการพัฒนาผู้เรียน
3. กำหนดวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์
เพื่อแยกแยะรายละเอียดของเนื้อหา ลำดับเนื้อหา และเพื่อให้ทราบความสัมพันธ์ของเนื้อหา