Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Adnexal mass with Board ligament myoma with Adenomyosis (ผู้ป่วยหญิงไทย…
Adnexal mass with Board ligament myoma with Adenomyosis
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 65 ปี
HN : 531366322
Dx.แรกรับ : Rt.Adnexal mass 7 cm
Dx.ปัจจุบัน : Adnexal mass with Board ligament myoma with Adenomyosis
Cheif complain : มาตรวตามนัดหลังทำ ผ่าตัด TAH with BSO (11/12/61)
Present Illness :
วันที่ 22/10/61 : ปวดท้องร้าวไปถึงหลังเวลานอน มีปัสสาวะบ่อย ไม่มีตกขาว ไม่เลือดออก แพทย์สั่งทำ CT Scan ทำpap smear และทำTVS
การตรวจ
ตรวจ CT scan
ตรวจ PAP Smear
ตรวจ TVS
พบ Adnexal mass ขนาด 4.4 x 2.75 cm
การวินิจฉัย
Adnexal mass
การรักษา
การผ่าตัด
ไม่สามารถทำได้ เนื่องจาก จะพิจารณาผ่าตัด เมื่อก้อนมีขนาด มากกว่า 5 cm
การได้รับยา และติดตามขนาดของก้อน
ผู้ป่วยได้รับยา และแพทย์นัด F/U ขนาดของก้อน
วันที่ 12/11/61 : มาฟังผล CT scan พบ Atrophic uterus ผู้ป่วยปวดท้องน้อย ไม่มีท้องผูก มีปัสสาวะกลางคืน 7-8 ครั้ง และพบก้อนในอุ้งเชิงกราน แพทย์สงสัยเป็น Myoma
LMP menopause : 53 ปี
การวินิฉัย
ตรวจพบ Atrophic uterus
พบก้อนในอุ้งเชิงกราน แพทย์สงสัยเป็น Myoma
การรักษา
รับยาและติดตามขนาดของก้อน
วันที่ 26/11/61 : แพทย์นัดมา F/U myoma ผู้ป่วยเสียดท้องบางครั้ง วลานั่ง หรือนอนนานๆ ไม่มีตกขาวผิดปกติ ไม่มีเลือดออกในช่องคลอด ไม่มีท้องผูก จากการตรวจพบ Rt.board ligament myoma และ Adnexal mass 7 cm ข้างขวา
การวินิจฉัย
Board ligament myoma และ Adnexal mass 7 cm
การรักษา
ผู้ป่วยยินยอมทำการผ่าตัด
วันที่ 3/12/61 : ผู้ป่วยมาฟังผล Pre op labs ปกติดี
วันที่ 10/12/61 ผู้ป่วย Admit ที่โรงพยาบาลเพื่อเตรียมตัวผ่าตัด
วันที่ 11/12/61 ผู้ป่วยเข้ารับการผ่าตัด TAH with BSO และ แพทย์ส่งตรวจ Biopsy ชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมา และผู้ป่วย Discharge ในวันที่ 14/12/61
การรักษา
การผ่าตัด TAH with BSO (Total Abdominal Hysterectomy with Bilateral Salphingo Oophorectomy )
การผ่าตัดนำมดลูก ปีกมดลูก รังไข่ ปากมดลูกออก
วันที่ 24/12/61 ผู้ป่วยมา F/U Post op TAH with BSO และมาฟังผลตรวชิ้นเนื้อ แต่ผลยังไม่ออก
วันที่ 28/12/61 แพทย์นัดมาฟังผล Biopsy พบ Adenomyosis
วันที่ 25/02/62 แพทย์นัดติดตามแผลผ่าตัด
Pas History : DLP โรคไขมันในเลือดสูง
การรักษา : ผู้ป่วยได้รับยา Simvastatin
พยาธิสภาพของโรค
Board Ligament Myoma
พยาธิสภาพ
เนื้อมดลูกที่เจริญเติบโตมากผิดปกติจากฮอร์โมนเอสโตรเจนมากกว่าปกติ จนแทรกเข้าไปในตัวมดลูกที่ปกติจนทำให้มดลูกทั้งอัน โตขึ้นมาเป็นก้อนเนื้องอกแต่เป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง
ทำให้มีอาการประจำเดือนมาผิดปกติ ปวดท้องน้อย และคลำได้ก้อนที่ท้องน้อย
อาการในผู้ป่วย
ปวดท้องน้อย
ปัสสาวะกลางคืน 7-8 ครั้ง
ปวดเสียดเวลานั่งหรือนอนนานๆ
ผู้ป่วยไม่มีบุตร
ประเภท
Submucous myoma : เนื้องอกโตในโพรงมดลูก
Intramural myoma : เนื้องอกจาก subserous โตไปใน board ligament
*ประเภทที่ผู้ป่วยเป็น
Subserous myoma : เนื้องอกโตจากมดลูก
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
ภาวะฮอร์โมนเอสโตรเจนสูง
ภาวะการไมมีบุตร หรือมีบุตรยาก
การรักษา
การติดตามขนาดเป็นระยะ
รับยากลุ่มฮอร์โมน
การผ่าตัด
การผ่าตัด Myomectomy : การผ่าตัดนำก้อนเนื้อออกจากมดลูก
การผ่าตัด Hysterectomy : การผ่าตัดนำมดลูกออก
Adnexal mass
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
การตั้งครรภ์ เช่น ตั้งครรภ์นอกมดลูก
การสร้างฮอร์โมนผิดปกติ
พยาธิสภาพ
มีก้อนที่รังใข่ ท่อนำไข่ และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่บริเวณใกล้เคียง ทำให้มีอาการปวดท้องน้อย
อาการในผู้ป่วย
ปวดท้องน้อย
ปวดท้องร้าวไปถึงหลัง
ปัสสาวะบ่อย
ตรวจ TVS พบก้อนขนาด 4.4 x 2.75 cm
การรักษา
ผ่าตัด
การติดตามขนาดของก้อน
ถ้าขนาดของก้อนน้อยกว่า 5 cm แพทย์จะไม่ทำการผ่าตัด แต่จะติดตามขนาดและดูอาการต่อไป
ถ้าขนาดของก้อนมากกว่า 5 cm แพทย์จะพิจารณาให้ทำการผ่าตัด
ก่อนหน้านี้ ผู้ป่วยรักษาโดยการติดตามขนาดของก้อน
ในวันที่ 22/10/61 มีขนาด 4.4 x 2.75 cm
ในวันที่ 26/11/61 มีขนาด 7 cm แพทย์จึงจารณราทำการผ่าตัด
Adenomyosis
พยาธิสภาพ
เกิดจากการที่มีเยื่อบุโพรงมดลูก (endometrial glands และ stroma) เข้าไปเจริญอยู่ในกล้ามเนื้อมดลูก
ทำให้มีอาการประจำเดือนมาผิดปกติ
อาการในผู้ป่วย
ปวดท้องน้อยนาน
ตรวจ Biopsy พบ adenomyosis
ชนิดกระจายอยู่ในชั้นกล้ามเนื้อมดลูกทั่วไป
diffuse adenomyosis
ชนิดที่จำกัดบริเวณและมีเปลือกหุ้ม (encapsulates)
adenomyoma
สาเหตุ
ภาวะการไม่มีบุตร หรือมีบุตรยาก
ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ
กรรมพันธุ์
การรักษา
การรับยาคุม หรือยาฮอร์โมนบำบัด
การมีบุตร
การผ่าตัด Endometrial Abbition
รับยา NSAIDs
Problem list
หลังการผ่าตัด
ผู้ป่วยทำการผ่าตัด TAH with BSO
ผู้ป่วยไม่มีมดลูก รังไข่ ปากมดลูก
เสี่งต่อภาวะซึมเศร้า เนื่องจากสูญเสียภาพลักษณ์
แนะนำให้ญาติให้กำลังและสนับสนุนผู้ป่วย
หากผู้ป่วยซึมเศร้าให้ญาติพาผู้ป่วยมาปรึกษาแพทย์
แนะนำให้ญาติผู้ป่วยคอยสังเกตอาการซึมเศร้าของผู้ป่วย
แนะนำให้ผู้สร้างคุณค่าและเป้าหมายในตนเอง
ผู้ป่วยสูญเสียฮอร์โมนเพศหญิง
กระดูกพรุน
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุนเนื่องจากผู้ป่วยสูญเสียฮอร์โมนเอสโตรเจน
แนะนำให้ผู้รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดีสูง และรับประทานในปริมาณที่ร่างกายต้องการ
แนะนำให้ผู้มาพบแพทย์ตามที่แพทย์นัด
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาฮอร์โมนทดแทน
แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายเบาๆเพื่อส่งเสริมกระดูกและกล้ามเนื้อ
ช่องคลอดแห้ง
ผู้ป่วยเสี่ยงการแห้งของช่อคลอดเนื่องจากสูญเสียฮอร์โมนเอสโตรเจน
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาฮอร์โมนทดแทนตามแผนการรักษา
แนะนำให้มาพบแพทย์ตามที่แพทย์นัด
หากต้องการมีกิจกรรมทางเพศแนะนำให้ใช้สารหล่อลืนช่องคลอด
โรคหัวใจและหลอดเลือด
ผู้ป่วยเสี่งต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เนื่องจากสูญเสียฮอร์โมนเอสโตรเจน
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยารักษาโรคไขมันในเลือดอย่างต่อเนื่อง ให้รับประทานยา simvastatin อย่างต่อเนื่อง
แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงอาหารที่มัน และมีไขมันสูง เช่น ของทอด หรือ อาหหารที่มีส่วนประกอบของกะทิ
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาฮอร์โมนทดแทนตามแผนการรักษาของแพทย์
แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังเพื่อช่วยในการกระตุ้นการทำงานหัวใจและหลอดเลือด
ก่อนการผ่าตัด
ปวดท้องมาก มีปวดท้องน้อย ปวดท้องร้าวไปถึงหลัง
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดหลัง
ประเมินอาการปวดท้อง ถ้าปวดมากให้ทานยาบรรเทาอาการปวด
แนะนำให้หายใจเข้าลึกๆเป็นจังหวะ
ดูแลให้ทานยาแก้ปวดดตามแผนการรักษา
ผู้ป่วยปัสสาวะบ่อย ผู้ป่วยปัสสาวะกลางคืน 7 - 8 ครั้ง
ผู้ป่วยพักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากปัสสาวะบ่อย
แนะนำให้ผู้ป่วยเข้าห้องน้ำให้เป็นเวลา
หากปัสสาวะมากในเวลากลางคืนให้ผู้ป่วยงีบหลับในเวลากลางวัน
แนะนำให้ปัสสาวะก่อนนอน