Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Antenatal care
การฝากครรภ์
01_378 (ข้อมูลมารดา🙎🏽 (การตรวจร่างกาย…
Antenatal care
การฝากครรภ์
ข้อมูลมารดา🙎🏽
-
-
การตรวจร่างกาย
-
ตรวจร่างกายตามระบบ
- ศีรษะ ไม่พบก้อน ไม่มีรอยแผล
- ตา เยื่อบุตาไม่ซีด ไม่เหลือง
- จมูก ไม่มีเยื่อบุโพรงมดลูกบวมหรืออักเสบ
- ช่องปาก ไม่มีฟันผุ ไม่มีเลือดออกตามไรฟัน ไม่มีเหงือกบวม
- ไม่พบต่อมไทรอยด์โต ไม่พบต่อมน้ำเหลืองโต
- เต้านมปกติ ไม่มีหัวนม บอด แบน บุ๋ม
- แขนขา ไม่บวม
สรุป ปกติ
- 2/มี.ค./63 GA 16 wks 6 day by date
น้ำหนัก 57.9 กก. ความดัน 123/77 mmhg pulse 96 bpm
ตรวจคครภ์ 1/3<สะดือ
- 7/มี.ค./63 GA 17 wks 6 day by date
น้ำหนัก 58.4 กก. ความดัน 123/78 mmhg pulse 86 bpm
ตรวจครรภ์ 1/3 < สะดือ
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- (2/03/63)
Hb 11.4
Hct 34.4
VDRL : Neg
HIV ab :Neg
HBsAg : Neg
ABO gr : O
Rh : positive
Ab screening: negative
- ตรวจคัดกรอง GDM
2/03/63 BS 50 กรัม 146(>140 นัดมาตรวจ OGTT สัปดาห์ถัดมา)
9/03/63 OGTT(oral glucose tolerance test)
oral glucose tolerance test 79(ค่าปกติ< 95)
oral glucose tolerance test 119 (ค่าปกติ< 180)
oral glucose tolerance test 130 (ค่าปกติ< 155)
oral glucose tolerance test 50 (ค่าปกติ< 140)
-
- ตรวจคัดกรอง Thalassemia
วันที่ตรวจ 2/03/63
MCV 77.0(น้อยกว่าเกณฑ์)
HBE screening : positive
problem list
ปัญหาที่พบ
MCV 77.0
DCIP positive
พยาธิสภาพ
โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
คำจำกัดความ
โรคโลหิตจางธาลัสซีเมียเป็นกลุ่มความผิดปกติทางพันธุกรรมของเม็ดเลือดแดงซึ่งมีส่วนประกอบของฮีโมลโกลบิน (hemoglobin) ที่ผิดปกติกล่าวคือ มีการสร้างสายโกลบิน (globin) ปกติลดลงหรือไม่สามารถสร้างโกลบินซึ่งเป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบินปกติได้มีสาเหตุมาจากการสังเคราะห์ที่ไม่สมดุลกัน ทำให้เม็ดเลือดแดงมีลักษณะผิดปกติและเกิดการแตกทำลายก่อนเวลา ส่งผลให้การนำออกซิเจนไปสู่ร่างกายได้ไม่ดี
โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย (thalassemia disease) เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบยีด้อย(autosomal recessive) กล่าวคือ ทั้งบิดาและมารดาของผู้ที่เป็นโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียจะมียีนธาลัสซีเมียแฝงที่สามารถถ่ายทอดความผิดปกติทางพันธุกรรม แต่ไม่แสดงอาการที่เรียกว่า พาหะ ซึ่งจะมียีนธาลัสซีเมียร่วมกับยีนปกติ(thalassemia trait; carrier; heterozygote
การตรวจคัดกรองพาหะธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์และสามีเพื่อวินิจฉัยคู่เสี่ยงที่บุตรในครรภ์อาจจะเป็นโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง 3 โรค
1.Hemoglobin Bart’s hydrops fetalis เป็นชนิดที่รุนแรงที่สุด ผู้ป่วยจะซีด บวม ตับม้ามโต มีน้ำในช่องท้อง รกมีขนาดใหญ่ มักเสียชีวิตในครรภ์หรือหลังเกิดไม่นาน หญิงที่ตั้งครรภ์ทารกที่เป็นโรคนี้ อาจมีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น เช่น ครรภ์เป็นพิษ หรือตกเลือดหลังคลอดได้
2.Homozygous B-thalassemia or Beta-thalassemia major ผู้ป่วยมีอาการซีดมากตั้งแต่ขวบปีแรก ต้องรับเลือดเป็นประจำ ตับม้ามโต ตัวเหลือง มีโครงร่างใบหน้าเปลี่ยนแปลงเป็นลักษณะเฉพาะ เจริญเติบโตช้า และมีภาวะเหล็กเกิน ในกลุ่มนี้ผู้ป่วยจะมีอาการตอนอายุประมาณ 1-2 ปี นั่นคือ จะเริ่มมีอาการตัวซีด แต่หากได้รับเลือดตั้งแต่ตอนที่แม่กำลังตั้งท้อง เด็กจะมีหน้าตาเหมือนเด็กปกติทั่วไป แต่ไม่ว่าอย่างไร ผู้ป่วยเหล่านี้ก็ต้องได้รับการดูแลรักษาในระยะยาวต่อไป
3.B-thalassemia/Hemoglobin E disease ผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจมีความรุนแรงของโรคที่แตกต่างกันได้มาก บางคนมีอาการรุนแรงมากคล้ายผู้ป่วยโรคเบต้าธาลัสซีเมียเมเจอร์ ส่วนใหญ่มีอาการรุนแรงปานกลาง ซีด ต้องได้รับเลือดเป็นประจำ ผู้ป่วยบางรายซีดไม่มากและไม่เคยได้รับเลือด
การตรวจคัดกรอง
-
- ตรวจหาผู้ที่มี hemoglobin E โดยใช้ DCIP
-
hemoglobin typing
- สามารถให้การวินิจฉัยพาหะของ เบต้า-ธาลัสซีเมีย พาหะ hemoglobin E และพาหะ ฮีโมโกลบินคอนสแตนท์ปริงค์
การตรวจ PCR(polymerase chain reaction) ซึ่งเป็นการตรวจสารพันธุกรรม(DNA) สำหรับ alpha สามารถตรวจหาพาหะชนิด แอลฟ่าธาลัสซีเมีย 1 แอลฟ่าธาลัสซีเมีย 2
-
-
หญิงตั้งครรภ์เคยท้องลม
-
blighted ovum
(ท้องลม)
ความหมาย
เป็นการตั้งครรภ์ที่ผิดปกติชนิดหนึ่งที่เกิดจาก ไข่กับอสุจิผสมกันเป็นตัวอ่อนแล้ว มีการฝังตัวในระยะะแรกแล้ว แต่ส่วนของตัวเด็กฝ่อหายไปก่อน เหลือเพียงแค่ถุงการตั้งครรภ์ ซึ่งไม่ฝ่อไปเอง ต้องขูดลอกออก
สาเหตุ
สาเหตุของท้องลมนั้นส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 50 เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมตัวอ่อน ซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติ
-