Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การเขียน โครงการวิจัย (สมมติฐานในการวิจัย (มักใช้ในงานวจัยเชิงปริ…
บทที่ 4
การเขียน โครงการวิจัย
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการเขียนโครงการวิจัย Verhoef and Hilsden(2001)
2. การแสดงถึงคุณภาพของโครงการวิจัย
ชื่อเรื่องที่น่าสนใจ
คำถามการวิจัยที่มีความชัดเจน
ภูมิหลังหรือที่มาของปัญหาที่แสดงอย่างเป็นเหตุและผล
คุณภาพของการนำเสนอ
การบริหารจัดการ
การเขียนที่ดี
ข้อเขียนมีความชัดเจนและกระชับ
มีตารางช่วยในการอธิบายเนื้อหา
มีหัวข้อหลัก หัวข้อรอง หัวข้อย่อยที่เหมาะสม
1. ภาพรวมที่แสดงถึงคุณภาพของการศึกษา
การกำหนดประเด็น/หัวข้อในการวิจัย
หากข้อสงสัยเป็นคำถามเชิงลึก ควรใช้วิธีการเชิงคุณภาพจะมีความแตกต่างจากการวิจัยเชิงปริมาณ ลักษณะของหัวข้อแสดงถึงการศึกษาข้อมูลเชิงลึก
หากเป็นคำถามที่ต้องการคำตอบเพื่อแก้ไขปัญหาในทันที ควรใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action research) ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมักมีขนาดไม่ใหญ่มากเกินไป
หากคำถามหรือข้อสงสัยอยู่ในระดับกว้าง นักวิจัยควรใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณเป็นแนวทางการเข้าถึงความจริง
หากต้องการการประเมินความสำเร็จของการดำเนินโครงการหรือกิจกรรม ควรใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (evaluation research)
หากต้องการศึกษาแนวโน้มอนาคต ควรใช้เทคนิคการวิจัยเพื่ออนาคต เช่น เดลฟาย EDFR
สมมติฐานในการวิจัย
มักใช้ในงานวจัยเชิงปริมาณที่เป็นชนิดของการอธิบายความสัมพันธ์ของเหตุและผลรหะว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
การทดสอบสมมติฐานจะเกิดขึ้นโดยการทดสอบด้วยสถิติอนุมาน
การเลือกวิธการตั้งสมมติฐานเป็นไปคามความชอบและความถนัดของนักวิจัย
การแสดงถึงความชัดเจนในเนื้อหางานของนักวิจัย
การเขียนสมมติฐานของนักวิจัย ควรเขียนให้สอดคล้องกับสถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเขียนสมมติฐานควรอธิบายอย่างเป็นหมวดหมู่
การเขียนสมมติฐานไม่จำเป็นต้องมีข้อจำนวนที่มากมาย อาจมีเพียง 1 หรือ 2
ลักษณะการเขียนความสำคัญของปัญหา
สามารถสะท้อนปัญหาในการวิจัยได้อย่างแจ่มชัดว่าปัญหาของวิจัยคืออะไร
การเขียนต้องตรงประเด็นสามารถอธิบายได้ครอบคลุมและมีเนื้อหาสมบูรณ์
ต้องอธิบายให้ได้ว่าทำไมต้องทำการวิจัย
มีการอ้างอิงถึงหรือแสดงการเชื่อมโยงจากการศึกษาครั้งก่อน
มีทฤษฏีและหลักการมาสนับสนุนการอธิบายปัญหา
คำถามในการวิจัย
คำถามในการวิจัยเป็นข้อความที่แสดงเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจงในรูปแบบของคำถามในการวิจัย
มักพบในการวิจัยเชิงสำรวจ และการวิจัยเชิงพรรณนา และการวิจัยเชิงคุณภาพ
คำถามในการวิจัยจะเป็นแนวทางในการออกแบบกระบวนการวิจัย
วัตถุประสงค์ในการวิจัย
แสดงถึงเป้าหมายการศึกษาสามารถบ่งบอกถึงตัวแปรที่ศึกษาและความสัมพันธ์ที่เป็นไปได้
การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยจะสัมพันธ์กับหัวเรื่องที่เลือกศึกษา
ขอบเขตในการวิจัย
ขอบเขตเชิงระยะเวลา
จากเดือนไหนถึงเดือนไหน
ระยะเวลากี่ปี
ขอบเขตเชิงสถานที่
สถานที่ที่ผู้วิจัยจะทำการศึกษาอยู่ที่ไหน
เหตุเกิดของเรื่องราว
ขอบเขตเชิงประชากร
ขอบเขตเชิงเนื้อหา
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย
การเขียนประโยชน์จากการวิจัยจะแสดงถึงคุณค่าของการวิจัย
นักวิจัยต้องพิจารณาให้ดีว่าปฏิบัติการของการแก้ไขปัญาจะนำไปสู่คุณค่าใด
ไม่เขียนประโยชน์ที่ได้รับจนเลิศหรูจนเกินจริง
การเขียนประโยชน์จากการวิจัยต้องสะท้อนผลได้ อันเกิดจากการสร้างการเปลี่ยนแปลงของนักวิจัยและคณะ
ผู้วิจัยจะต้องเรียงลำดับขั้นตอน เพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพโดยรวมเป็นรูปธรรม
การทบทวนเอกสาร
การวิจัยเชิงคุณภาพ
การทบทวนเอกสารสร้างกรอบความคิดที่ซับซ้อน (ตามเอกสารที่ทบทวน)
สามารถยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์หรือความจริงที่ค้นพบ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ทำความเข้าใจกับสถานการณ์ที่เป็นจริงโดยอาศัยกรอบทางทฤษฏีนำไปสู่การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้น
การปฏิบัติที่มีฐานคิดทางทฤษฏี เส้นทางการขับเคลือนสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างมีความหมายในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ ที่เป็นความรู้ใหม่
นักวิจัยเลือกที่จะใช้วิธีการตามความถนัดหรือผสานวิธีความเชื่อเดิมมาใช้ในการวิจัยเชิงปฎิบัติการ
กลุ่มนักวิจัยที่มีพื้นฐานมาจากงานวิจัยเชิงคุณภาพ
กลุ่มไม่นิยมทบทวนเอกสาร
กลุ่มนิยมทบทวนเอกสาร
กลุ่มนักวิจัยที่มีพื้นฐานมาจากงานวิจัยเชิงปริมาณ
นักวิจัยเชิงปฎิบัติการ
การวิจัยเชิงปริมาณ
การทบทวนเอกสารจะช่วยให้นักวิจัยกำหนดเส้นทางของการวิจัยได้อย่างเหมาะสม
การทบทวนเอกสาร คือการทำงานทฤษฏีหลัก เป็นแนวทางไปสู่การพิสูจน์สมมติฐาน
วิธีการวิจัย
เทคนิคและการใช้เครื่องมือในการวิจัย
เทคนิคเครื่องมือในการวิจัยเชิงปริมาณ
การวัด
มาตราวัด
เทคนิคเครื่องมือในการวิจัยเชิงคุณภาพ
เทคนิคเครื่องมือในการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
1.ตอบวัตถุประสงค์ของการศึกษา
การอธิบายแนวคิด (Concept)
ความเที่ยง (Reliability)
ความตรง (Validity)
กลุ่มเป้าหมายและการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
ในงานวิจัยเชิงคุณภาพ
ในกรณีของเรื่องที่ศึกษา ผู้วิจัยไม่ทราบว่ากลุ่มเป้าหมายของผู้วิจัยอยู่ที่ไหน
กรณีที่ผู้วิจัยมองเห็นกลุ่มเป้าหมายได้อย่างชัดเจน
การวิจัยเชิงปฏิบัติ
ในงานวิจัยเชิงปริมาณ
การสุ่มแบบตัวอย่าง (Sampling)
การสุ่มแบบทราบความน่าเป็น (Probability sampling)
การสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random sampling)
การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster sampling)
การสุ่มแบบเป็นระบบ (Systematic sampling)
การสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage sampling)
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random sampling)
การสุ่มแบบไม่ทราบความน่าเป็น (Non-Probability sampling)
การสุ่มแบบตามสะดวก (Convenience sampling) หรือแบบบังเอิญ (Accidental Sampling)
การสุ่มแบบโค้วต้า (Quota sampling)
การสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling)
การวิจัยผสานวิธี
ในการวิจัยแบบอื่นๆ
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรอิสระ (Independent variables)
ตัวแปรตาม (Dependent variables)
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์
3.การส่งแบบสัมภาษณ์/แบบสอบถามทางไปรษณีย์
1.การสัมภาษณ์บุคคล
กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล
2.การวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยเชิงคุณภาพ
3.การวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ
1.การวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยเชิงปริมาณ
แผนการวิจัย
สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่
https://coggle.it/diagram/XHQLswsD5loXfIOv/t
นางสาวศุภรัตน์ การอรุณ รหัส 615050023-9 สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น