Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson’s Caring Theory) (ประวัติความเป็นมา…
ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน
(Watson’s Caring Theory)
ประวัติความเป็นมา
สร้างโดย ดร.จีน วัทสัน (Jean Watson)
วัทสันเกิดปี ค.ศ. 1940 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
งานเขียน :
1) พิมพ์ครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1979 ในเรื่อง “ ปรัชญาและศาสตร์ของการดูแล ” (Philosopy and Science of Caring)
2) ในปี ค.ศ. 1988 ทฤษฎีของวัทสันชื่อ “ ศาสตร์เกี่ยวกับมนุษย์และการดูแล ” (Human Science and Human Caring)
ได้รับการตีพิมพ์การพัฒนาทฤษฎีการดูแลระหว่างบุคคล
แนวคิดหรือหลักการสำคัญ
1.การดูแลที่เข้าถึงจิตใจของบุคคล
-ตัวตน/สนามปรากฏการณ์/การดูแลที่เกิดขึ้นจริง
2.ปัจจัยการดูแล
การสร้างสัมพันธภาพการช่วยเหลือไว้วางใจ
การยอมรับการแสดงออก
การใช้การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ในกระบวนการดูแล
การส่งเสริมการเรียนการสอน
ความไวต่อความรู้สึก
การประคับประคอง สนับสนุน
ความศรัทธา
การช่วยเหลือเพื่อตอบสนอง
• ระบบคุณค่าการสร้างประโยชน์ต่อเพื่อนมนุษย์
การเสริมสร้างพลังจิตวิญญาณในการมีชีวิตอยู่
มโนมติหลัก/อภิกระบวนทัศน์ (Metaparadigm)
มโนทัศน์หลัก 4 ประการ
2.สุขภาพ (Health)
-ภาวะที่มีดุลภาพระหว่างร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ
-สุขภาพสามารถปรับตัวในการทำกิจวัตรประจำวันได้
3.สิ่งแวดล้อม/สังคม (Environment/Society)
-สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการรับรู้และพัฒนาการของบุคคล
-ค่านิยมของสังคมเป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมให้การดูแลเกิดขึ้น
1.มนุษย์ (Human Being)
-ร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณเป็นแก่นตัวตน (Self) ของบุคคล เป็นแหล่งที่เกิดความตะหนักในตนเอง
4.การพยาบาล (Nursing)
-เป็นกระบวนการดูแลที่เข้าถึงจิตใจและความรู้สึกของบุคคล (Transpersonal Caring)
-ส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การเยียวยาการเจ็บป่วย
จุดเน้น/ข้อตกลงเบื้อต้น
(Assumptions)
ข้อตกลงเบื้องตนที่สัมพันธ์กับคุณค่าการดูแลมนุษย์ในการพยาบาลไว้ 11 ประการ
5.การพยาบาลต้องยึดถือการดูแลความเป็นมนุษย์
-ภาวะสุขภาพดีและการเจ็บป่วย
6.การดูแล
-แกนกลางของการพยาบาล
-เป็นจุดเน้นในการปฏิบัติการพยาบลา
4.รักศักดิ์ศรีของตนเอง
7.การดูแลเชิงมนุษย์นิยม
-รายบุคคลหรือกลุ่ม ได้รับความสนใจจากระบบบริการสุขภาพน้อยลง
3.ก่อนจะดูแลผู้อื่นพยาบาลต้องดูแลตนเองด้วยความสุภาพอ่อนโยน
8.ค่านิยมเกี่ยวกับการดูแลของพยาบาล
-ถูกบดบังไว้จากการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ที่เพิ่มขึ้น
-ค่านิยม/อุดมคติที่เน้นความเป็นมนุษย์จึงอยู่ในภาวะวิกฤติ
2.มนุษย์ต้องการความรักและการดูแลซึ่งกันและกัน
9.การอนุรักษ์และการศึกษาเรื่องการดูแลมนุษย์
1.การดูแลและความรักเป็นพลังสากล
10.การดูแลมนุษย์
-ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน
11.ประโยชน์ของวิชาชีพการพยาบาลต่อสังคม
-การยึดมั่นในการดูแลเชิงมนุษย์นิยมทั้งด้านทฤษฎี การปฏิบัติ และการวิจัย
แนวทางการประยุกต์ใช้
5 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นวางแผนการพยาบาล
โดยวางแผนร่วมกับผู้ป่วยตกลงจุดมุ่งหมายร่วมกัน
ขั้นปฏิบัติการพยาบาล
พยาบาลต้องปฏิบัติตามแผนโดยมีปัจจัยการดูแล10ประการเชื่อม
ขั้นวินิจฉัยทางการพยาบาล
ได้จากการรับรู้ข้อมูลจากผู้ป่วยเป็นการเขียนปัญหาที่เกิดขึ้น
ขั้นประเมินผล
ต้องมีจุดหมายเป็นเกณฑ์วัดตัดสินว่าบรรลุจุดมุ่งหมายมากน้อยเพียงใด
ขั้นประเมินสภาพ
ประเมินสภาพร่างกายและตรวจทางห้องทดลองในการประเมินความต้องการจะประเมินตามทัศนะของผู้ป่วย