Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม (Orem's Self care Theory) art_554845…
ทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม
(Orem's Self care Theory)
ประวัติความเป็นมาของทฤษฎี
ผู้ก่อตั้ง คือ Dr.Dorothea E. Orem
ริเริ่มพัฒนาตั้งแต่ปีค.ศ. 1958
จากประสบการณ์การทำงาน พบว่า
การจัดหลักสูตรมีความยากลำบากในการกำหนดขอบเขต
พยาบาลไม่สามารถบอกความหมายและวัตถุประสงค์ของพยาบาลได้อย่างชัดเจน
แนวคิดหรือหลักการสำคัญ
การดูแลตนเองเป็นการกระทำที่จงใจ
เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับบุคคลในการดำรงชีวิต สุขภาพและความผาสุก
การดูแลตนเองสามารถเรียนรู้ได้ จากที่
บ้าน
โรงเรียน
ประสบการณ์
บุคคลมีความจำเป็นในการพัฒนาความรู้ ทักษะ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลตนเองและสุขภาพ
มโนมติหลัก/อภิกระบวนทัศน์ Metaparadigm
บุคคล :silhouette:
เป็นผู้ที่มีศักยภาพและสามาถกระทำตามที่ได้ตั้งใจไว้ (Deliberate action)
มีความสามารถที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง
วางแผนจัดระบบการดูแลตนเองได้ดี
มีความเป็นพลวัตร คือเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
สุขภาพ :smiley:
คนที่มีสุขภาพดีทำหน้าที่ทั้งด้านสรีระ จิตสังคม
มีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลอื่น
ต้องดูแลตนเองในระดับที่เพียงพอและต่อเนื่อง
สิ่งแวดล้อม :fire:
บุคคลกับสิ่งแวดล้อมไม่สามารถแยกออกจากกันได้
มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน
มีทั้งสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ทางสังคม วัฒนธรรมและชุมชน
การพยาบาล :<3:
เป็นการบริการสุขภาพ เน้น
การดูแลของบุคคล
ความสามารถและความความต้องการ
เป็นการช่วยปฏิบัติกิจกรรมการดูแลแทนบุคคล
เมื่อบุคคลนั้นไม่สามารถกระทำได้
ช่วยให้บุคคลสามารถดูแลตนเองได้อย่างเพียงพอและต่อเนื่อง
จุดเน้น/ข้อตกลงเบื้องต้น Assumptins
ให้ความช่วยเหลือบุคคลที่มีความบกพร่องในการดูแลตนเองที่เกี่ยวกับภาวะสุขภาพ
การกระทำให้/การกระทำ
พยาบาลต้องช่วยผู้ป่วยในการหาข้อมูลตัดสินใจ วางแผนกระทำและจะต้องบอกผู้ป่วยในการหาผลรายงานว่ามีอะไรบ้างแก่พยาบาล
การชี้แจ้ง
เป็นวิธีการช่วยเหลือที่เหมาะในกรณีที่ผู้ป่วยสามารถตัดสินใจเลือกได้
การสนับสนุน
เป็นวิธีการส่งเสริมความพยายามให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้
การสอน
โดยสอนในสิ่งที่ผู้ป่วยต้องการเรียนรู้ มีความพร้อมและมีการวางแผนเป้าหมาย เลือกวิธีการดูแลร่วมกัน
แนวทางการประยุกต์ใช้
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นวินิจฉัยและพรรณนา ( Diagnosis and Prescription )
เป็นขั้นตอนที่ระบุถึงความพร่องในการดูแลตนเอง
การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถในการดูแลตนเอง
พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถกับความต้องการการดูแลตนเอง
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นวางแผน ( Design and Plan )
เป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องเมื่อทราบถึงความพร่องในการดูแลตนเอง
เลือกระบบการพยาบาลให้เหมาะสม แล้วนำมาวางแผน
มีการกำหนดเป้าหมายหรือผลลัพท์ทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นปฏิบัติการพยาบาลและควบคุม ( Regulate and Control )
เป็นขั้นตอนที่พยาบาลนำกิจกรรมไปลงมือปฏิบัติตามแผนการพยาบาล
มีจุดมุ่งหมาย คือการบรรลุความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด ( TSCD )
การประเมินผลลัพท์ทางการพยาบาลว่ามีประสิทธิภาพหรือไม่
ปกป้องหรือพัฒนาความสามารถหรือไม่
นำข้อมูลย้อนกลับเข้าสู่การประเมินสภาวะอีกครั้ง
ทฤษฎีย่อย
3 ทฤษฎี
1.ทฤษฎีการดูแลตนเอง
ความต้องการในการดูแลตนเองทั้งหมด
การดูแลตนเองที่จำเป็นโดยทั่วไป
ความสามารถในการดูแลตนเอง
2.ทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเอง
ความต้องการที่สมดุล
ความต้องการที่น้อยกว่าความสามารถ
ความต้องการมากกว่าความสามารถ
3.ทฤษฎีระบบการพยาบาล
ระบบทดแทนทั้งหมด
ระบบทดแทนบางส่วน
ระบบการพยาบาลสนับสนุนและให้ความรู้