Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การติดเชื้อและกลไกการต่อต้านเชื้อโรคของร่างกาย (Mechanical …
บทที่ 2 การติดเชื้อและกลไกการต่อต้านเชื้อโรคของร่างกาย
Mechanical barrier
ผิวหนังและเยื่อเมือกเป็นด่านป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
มีการหลั่งกรดไขมันเพื่อทำลายเชื่อแบคทีเรีย
ในทางเดินหายใจมีการหลั่งสารเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม
ทางเดินอาหารมีการหลั่งกรดช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ
มีการเคลื่อนไหวลำไส้ช่วยขจัดเชื้อออกไวขึ้น
ทางเดินปัสสาวะใช้ยูเรียทำลายเชื้อแบคทีเรียบางตัวได้
ในตามีน้ำตา lysozyme ช่วยฆ่าแบคทีเรีย
Humeral immunity and cell mediated immunity
cell mediated immunity เป็นการต่อต้านเชื้อโรคโดยไม่อาศัยการสร้าง antibody แต่อาศัยการปล่อยสารจำพวกlymphokineทำให้เซลล์ macrophange ดุร้ายขึ้น
Humoral immunity เป็นการต่อต้านเชื้อโรคแบบจำเพาะเจาะจงโดยอาศัยการสร้าง antibody เซลล์การต่อต้าน
IgA มีบทบาทในการต่อต้านโรคตาม ทางเดินหายใจและทางเดินปัสสาวะ
IgG มีมากสุดในร่างกายป้องกันการติดเชื้อสำหรับทารกแรกเกิด
IgM พบใน serum เท่านั้น ทารกในครรภ์สร้างได้ก่อนชนิดอื่นๆ
IgD หน้าที่ยังไม่ทราบชัดเจน พบเพียง 1%
IgE พบมากในผู้ป่วยโรคภมูิแพ้ พบเพียง 0.01 %
Phagocytosis
เมื่อจุลชีพเข้าสู่ร่างกาย จะถูกจับกินโดยเซลล์จับกิน
การจับกินจะดีเมื่อมี opsonin ร่วมด้วย
ขบวนการจับกินแบบเกาะติดจุลชีพ เรียกว่า opsonization
antibody ทำตัวเองเป็น opsonin เอง
เกิดปฎิกิริยาแล้วกระตุ้น complement ได้ opsonin มา
complements
ประกอบด้วยโปรตีน 11 ชนิด
มีลักษณะโมเลกุลต่างกัน
การกระตุ้นทำให้เกิดผลดังนี้
anaphylatoxin C3a และ C5a ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหด
chemotaxis C3a C5a ช่วยชักนำให้ PMN มาชุมนุมบริเวณนี้
immune adherence C3b เกาะที่ผิวเซลล์มากขึ้น จับกับเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวง่ายขึ้น
ทำให้เซลล์ของจุลชีพถูกทำลายง่ายขึ้น
มีอยู่ในน้ำเลือด แต่จะไม่ออกฤทธิ์จนกว่าจะถูกกระตุ้น
กลไกลดื้อยาต่อยาปฎิชีวนะ
แบคทีเรียใช้พลังงานจากATPลำเลียงยาปฎิชีวนะที่เข้ามาในเซลล์ให้ออกไปนอกเซลล์โดยอาศัยโปรตีนเป็นการลดความเข้มข้นของยาปฏิชีวนะ
แบคทีเรียสร้างเอนไซม์ที่สามารถเปลี่ยนแปลงยาปฏิชีวนะ
แบคทีเรียมีกลไกลป้องกันยาให้เข้าไปได้น้อยลง