Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช (สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด…
3.เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
หลักการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ยอมรับผู้ป่วย (Acceptance)
เข้าถึงความรู้สึกของผู้ป่วย (Empathy)
สม่ำเสมอในการติดต่อกับผู้ป่วย (Consistency)
จริงใจ ตั้งใจช่วยเหลือผู้ป่วย ทั้งการพูดและการกระทำ (Genuine)
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด
1.เทคนิคที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีคุณค่า Giving information, Giving recognition, Offering self, Accepting
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยเป็นฝ่ายนำการสนทนา Reflection, Broad opening, Accepting, Using general leads
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยระบายความคิด ความรู้สึก Sharing observation, Using silence, Restating, Encouraging description of perception
เทคนิคที่ช่วยทำความเข้าใจซึ่งกันและกันทั้งสองฝ่าย Clarifying, Validating, Verbalizing implied though and feel, Placing event intime or sequence
เทคนิคที่กระตุ้นให้ผู้ป่วยคิดไตร่ตรองเรื่องราวของเขาใหม่ focusing, Exploring, Voicing doubt, Encouraging evaluation, Encouraging formulation of a plan of action, Summarizing
ขั้นตอนการสร้างสัมพันธภาพเพื่้อการบำบัด
1.ขั้นก่อนปฏิสัมพันธ์
ขั้นเริ่มแรก
ขั้นแก้ไขปัญหา
ขั้นยุติสัมพันธภาพ
เงื่อนไขที่สำคัญในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
มีจุดมุ่งหมายเพื่อการบำบัด
มีจรรยาบรรณของวิชาชีพ
มีความรู้และทักษะทางวิชาชีพ
มีการวางแผน มีจุดเริ่มต้นและยุติสัมพันธภาพ
มีการประเมินผล
การตระหนักรู้ในตนเอง การใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
การตระหนักรู้ในตนเอง
พยาบาลที่ตระหนักรู้ในตนเองจะรู้ตัวอยู่เสมอว่า กำลังคิดและรู้สึกอย่างไร จะช่วยให้เกิดการตระหนักรู้ในความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
การใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
เป็นการช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้ความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเอง ที่จะนำไปสู่การปรับตัวที่เหมาะสมกับความเป็นจริงของชีวิต โดยอาศัย "ความเป็นตัวเองของพยาบาล" ซึ่งพยาบาลต้องมีความตระหนักรู้ในตนเอง