Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารการศึกษา ระบบการศึกษาของไทย…
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารการศึกษา
ระบบการศึกษาของไทย และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
:silhouettes:
การบริหารการศึกษา
และความหมาย
:star:
Peter F.Drucker : การบริหาร คือ ศิลปในการทำงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกับผู้อื่น
Harold koontz : การบริหาร คือการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยการอาศัยคน เงิน วัตถุสิ่งของ เป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน
Herbert A.Simon : การบริหาร คือกิจกรรมที่บุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ร่วมมือกันดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างร่วมกัน
สรุปได้ว่า การบริหาร หมายถึงการใช้ศาสตร์และศิลป์ของบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ร่วมมือกันดำเนินกิจกรรมหรืองานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ร่วมกัน โดยอาศัยกระบวนการ และทรัพยากรทางการบริหารเป็นปัจจัยอย่างประหยัด และให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ทฤษฎี และความหมาย :star:
Good : ทฤษฎี คือ ข้อสมมติต่างๆ หรือข้อสรุปเป็นกฎเกณฑ์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากข้อสมมติทางปรัชญาและหลักการทางวิทยาศาสตร์
Kneller : ทฤษฎีข้อสมมติฐานต่าง ๆ ซึ่งได้กลั่นกรองแล้ว จากการสังเกตหรือทดลอง เช่น ในเรื่องความโน้มถ่วงของโลก
Feigl : ทฤษฎีเป็นข้อสมมติต่างๆ ซึ่งมาจากกระบวนการทางตรรกวิทยา และคณิตศาสตร์ ทำให้เกิดกฎเกณฑ์ที่ได้มาจากการสังเกต การทดลอง
ธงชัย สันติวงษ์ : ทฤษฎี หมายถึง ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการรวบรวมแนวความคิดและหลักการต่าง ๆ ให้เป็นกลุ่มก้อน
เมธี ปิลันธนานนท์ : ได้กล่าวถึง ๓ ประการ คือ การพรรณนา (Description) การอธิบาย (Explanation) และการพยากรณ์(Prediction)
ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน์ : เป็นความคิดที่สัมพันธ์กันและกันอย่างมีระบบ ความคิดดังกล่าวมีลักษณะ "เป็นความจริง" ความจริงหรือความคิดนั้นสามารถเป็นตัวแทนปรากฎการณ์หรือพฤติกรรมที่เกิดขึ้นได้
จากความหมายดังกล่าวข้างต้น ทฤษฎี จึงหมายถึง การกำหนดข้อสันนิษฐาน ซึ่งได้รับมาจากวิธีการทางตรรกวิทยา วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ทำให้เกิดกฎเกณฑ์ที่ได้มาจากการสังเกต ค้นคว้า และการทดลอง โดยใช้เหตุผลเป็นพื้นฐานเพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจในความเป็นจริงและนำผลที่เกิดขึ้นนั้นมาใช้เป็นหลักเกณฑ์
ทฤษฎีทางการบริหาร:star:
ทฤษฎีวิเคราะห์ระบบ (SYSTEM APPROACH หรือ GENERAL SYSTEM THEORY)
ทฤษฎีระบบสังคม (SOCIAL SYSTEM THEORY)
ทฤษฎีจูงใจในการปฏิบัติงานของมาสโลว์
ทฤษฎีการจูงใจ - สุขอนามัยของเฮอร์เบอร์ก (HERZBERG'S MOTIVATION HYGIENE THEORY)
ทฤษฎี X และ ทฤษฎี Y
วิวัฒนาการการบริหาร
การศึกษา
:star:
ระยะที่ ๑ ระหว่าง ค.ศ.๑๘๘๗ – ๑๙๔๕ (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, ๒๕๔๒ : ๑๐) ยุคนักทฤษฎีการบริหารสมัยดั้งเดิม (The classical organization)
ระยะที่ ๒ ระหว่าง ค.ศ.๑๙๔๕ – ๑๙๕๘ (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, ๒๕๔๒ : ๑๐) ยุคทฤษฎีมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relation)
ระยะที่ ๓ ระหว่าง ค.ศ.๑๙๕๘ – ปัจจุบัน (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, ๒๕๔๒ : ๑๐) ยุคการใช้ทฤษฎีการบริหาร (Administrative Theory) หรือการศึกษาเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Approach)
การบริหารตามวงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle)
:star:
ขั้นตอนที่ ๑ การวางแผน (Plan)
ขั้นตอนที่ ๒ การปฏิบัติ(Do)
ขั้นตอนที่ ๓ การตรวจสอบ (Check)
ขั้นตอนที่ ๔ การปรับปรุงแก้ไข(Act)
การจัดระบบการศึกษา ในประเทศไทย
:star:
ระบบการศึกษา
การศึกษานอกระบบ
(Non-Formal Education)
การศึกษาตามอัธยาศัย
(Informal Education)
การศึกษาในระบบ
(Formal Education)