Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility) (ความสามารถในการมีบุตร (อายุฝ่ายหญิง21…
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
ความหมาย
การที่คู่สมรสไม่สามารถมีการตั้งครรภ์ได้ โดยที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอและ ไม่ได้คุมกำเนิดมาเป็นระยะเวลา 1 ปี หรือระยะเวลา 6 เดือนในกรณีที่คู่สมรสฝ่ายหญิงที่มีอายุเกิน 35 ปี ขึ้นไป
ประเภท
ภาวะมีบุตรยากแบบปฐมภูมิ(Primary infertility)
การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่ได้พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ(Secondary infertility)
การมีบุตรยากที่ฝ่ายหญิงเคย
ตั้งครรภ์มาก่อนอาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้ง หรือการคลอดก็ตาม หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
สาเหตุ
ฝ่ายหญิง
การทางานของรังไข่ผิดปกติพบร้อยละ40
ท่อนำไข่พบร้อยละ30
Endometriosis พบร้อยละ20
Immunological พบร้อยละ5
อื่นๆ พบร้อยละ 5
ฝ่ายชาย
Sperm dysfunction พบร้อยละ80 เช่น เชื้ออสุจิ น้อย มีรูปร่างผิดปกติ หรือมีการเคลื่อนไหวน้อย
Sexual factors พบร้อยละ10 เช่น Electile dysfunction, Premature dysfunction ฯ
ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียดความวิตกกังวล ก็เป็นสาเหตุให้เกิดภาวะมีบุตรยากได้
อื่นๆ พบร้อยละ 10
ความสามารถในการมีบุตร
อายุฝ่ายหญิง21-25ปีความสามารถมีบุตรได้สูง
อายุฝ่ายชายอายุ˃ 55 ปีขึ้นไปจะมีความผิดปกติของอสุจิมากขึ้น
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ที่เหมาะสมคือ2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
การวินิจฉัย
ฝ่ายหญิง
การซักประวัติ
เช่น ประวัติการมีประจาเดือน การแต่งงานและการมีบุตร การมีเพศสัมพันธ์ การคุมกาเนิด เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป เช่น Secondary sex ,การตรวจต่อมไร้ท่อ
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี ได้แก่ เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด,คอมดลูก,ตัวมดลูก,ท่อนำไข่
การประเมินท่อนาไข่มดลูกและอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
การวินิจฉัย
ได่แก่ Hysterosalpingogram(HSG),Endoscopy,รังไข่,เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน,ภูมิต้านทานตัวอสุจิ,เต้านม
สาเหตุของภาวะมีบุตรยากร้อยละ30-50 ซึ่งส่วนใหญ่ของภาวะอุดตันของท่อนาไข่มักเกิดภายหลังการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไส้ติ่งอักเสบการทาแท้งภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ได้แก่ การตรวจเลือดทั่วๆไป การตรวจฮอร์โมน การตรวจความผิดปกติของการตกไข่ การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูกหรือการทำ postcoital test, การตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart , การตรวจการทำงานของอสุจิหรือ sperm function tests
ฝ่ายชาย
การซักประวัติ
เช่น ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต รูปแบบการดาเนินชีวิต ลักษณะนิสัยส่วนตัว การได้รับยา รังสี สารเคมี การมีเพศสัมพันธ์ การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด การได้รับการกระทบกระเทือนที่อวัยวะสืบพันธ์ เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจระบบสืบพันธ์ เช่น หนังหุ้มปลายองคชาต ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะลักษณะรูปร่างอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ(Varicocele) Hydrocele
การตรวจทางป้องปฏิบัติการ
ได้แก่ การตรวจเลือดทั่วๆไป การตรวจฮอร์โมน การตรวจน้ำอสุจิ
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ(Unexplained infertility)
คือคู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากแล้วจนครบตามมาตรฐานแล้วแต่ไม่พบความผิดปกติโดยจะพบได้ร้อยละ10 –15 ของคู่สมรสทั้งหมด
การรักษาการมีบุตรยาก
การรักษาแบบขั้นต้น (Conventional)
การกาหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์ (Timing intercourse)
การกระตุ้นไข่ (Ovulation induction)
เป็นการรักษาขั้นต้นไม่เสียค่าใช้จ่ายมาก
การผสมเทียม คือ การใช้เครื่องมือฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปภายในอวัยวะสืบพันธุ์ของสตรี ในช่วงที่ไข่ตก เชื้ออสุจิอาจเป็นของสามี หรือผู้บริจาค
วิธีการนี้ไม่เหมาะสมกับ
หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืดขวางทางระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนำไข่
ท่อนาไข่เสียหายเยื่อบุมดลุกเจริญผิดที่หรือปัญหาอื่นๆที่ทาให้ไข่ไม่สามารถตกเข้าท่อนาไข่ได้
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้าอสุจิเช่นมีจานวนน้อยเคลื่อนไหวผิดปกติหรือมีปัญหาอื่นๆ
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร(assisted reproductive technologies: ART)
การกระตุ้นการตกไข่
โดยการให้GnRHเป็นระยะ กระตุ้นการผลิตFSH และLH หรือให้ยาซึ่งเป็นฮอร์โมนสังเคราะห์ไปกีดกันการทางานของอีสโทรเจนไม่ให้ไปยับยั้งการทางานของGnRHทาให้มีการผลิตFSH และLH ออกมาจานวนมากมีผลให้มีการตกไข่มากกว่า1 ใบหลังจากนั้นจะนาไข่ออกมาเลือกใบที่แข็งแรงและนามาใช้ตามการปฏิสนธินอกร่างกายด้วยวิธีต่างๆ
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์(Assisted Reproductive Technology หรือART)
GIFT ( Gamete Intrafallopian Transfer)
คือ การนาไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ในท่อนาไข่ หลังจากกระตุ้นไข่เพื่อชักนาให้ไข่สุกหลายใบ และเจาะดูดไข่ออกมาแล้วนาไข่ที่ได้ 3-4 ใบมารวมกับตัวอสุจิที่ผ่านการคัดแยกแล้ว จากนั้นนาฉีดผ่านเข้าไปในท่อนาไข่ทันที ฝ่ายหญิงจะต้องมีท่อรังไข่ที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง
ZIFT (Zygote Intrafallopian Transfer)
ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วจะถูกนามาผสมกันและเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ1วันถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิแล้วจะใส่ตัวอ่อนกลับเข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้องใส่ไปในท่อนำไข่
IVF ( In Vitro Fertilization)
คล้ายกับGIFTแต่ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้ว จะถูกนามาผสมกันเพื่อให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกาย โดยเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ เพื่อให้มีการแบ่งตัวจนเป็นตัวอ่อนในระยะ 4-8 เซลล์ ใช้เวลาเลี้ยงในห้องปฏิบัติการประมาณ 2-5 วัน จากนั้นนาตัวอ่อนที่ได้ใส่เข้าไปในโพรงมดลูกเพื่อให้มีการเจริญเติบโตต่อไป
การเก็บไข่ โดยแทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่โดยตรงซึ่งสามารถเห็นได้จากอัลตราซาวด์ หรือผ่านทางหน้าท้องไปที่รังไข่
การเก็บสเปิร์มโดยการหลั่งภายนอก (masturbation) เลือกสเปิร์มที่แข็งแรงเท่านั้น ซึ่งถ้าต้องการเก็บไว้ใช้ภายหลังสามารถเก็บได้ไว้ในไนโตรเจนเหลวเป็นเวลาหลายปีโดยไม่เสื่อมสภาพ
ข้อบ่งชี้
ท่อนำไข่ตีบตัน มีเยื่อพังผืดในอุ้งเชิงกรานซึ่งขัดขวางการเดินทางของไข่เข้าสู่โพรงมดลูก เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ความผิดปกติของปากมดลูก ความผิดปกติของการตกไข่ สาเหตุจากฝ่ายชาย ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
Micromanipulation
คือ วิธีการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก ซึ่งมักจะมีปัญหาทางด้านเชื้ออสุจิจานวนน้อยมาก ไม่เคลื่อนไหว เป็นต้น
อิ๊กซี่( Intracytoplasmic Sperm Injection; ICSI)
คือการฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรงซึ่งทาภายใต้กล้องขยายกาลังสูง เหมาะสาหรับผู้ที่มีสเปิร์มน้อยมากๆ
ICSI (Intracytoplasmic SpermInjection)
เป็นการนาเชื้ออสุจิเพียงหนึ่งตัวเจาะใส่เข้า Ooplasmโดยตรง เหมาะกับผู้มีตัวอสุจิน้อยมาก (Oligozoospermia) และ ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี(Asthenozoospermia) ตัวอสุจิมีรูปร่างผิดปกติ (Teratozoospermia)
ในกรณีที่ผู้ชายไม่มีตัวอสุจิในน้าอสุจิเลย ซึ่งถือว่าเป็นหมัน ปัจจุบันสามารถนาเอาอสุจิออกจากอัณฑะ (TESTIS) หรือจากท่อนาน้าอสุจิส่วนต้น (MESA,PESA) แล้วนามาทา ICSI