Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือหรือเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา (การทดสอบ (Test)…
เครื่องมือหรือเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
การสังเกต Observation
การสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม(Participant Observation)
ผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัว
การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม (Non participant Observation)
การสังเกตเเบบไม่มีโครสร้าง
การสังเกตผู้สังเกตไม่ได้กำหนดเรื่องเฉพาะที่มุ่งเพียงสังเกตอย่างเดียวเเต่จะสังเกตเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องด้วย
การสังเกตเเบบมีโครงสร้าง
เป็นการสังเกตที่ผู้สังเกตกำหนดเรื่องที่จะสังเกตไว้เเล้ว เช่น การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
หลักทั่วไปในการสังเกต
4.บันทึกผลการสังเกตพฤติกรรมทันที
3.ขณะที่ทำการสังเกตต้องไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว
2.สังเกตอย่างพินิจพิเคราะห์
5.บันทึกเฉพาะสิ่งที่สังเกตเห็นเท่านั้น ไม่ควรตีความพฤติกรรมขณะนั้น
1.มีจุดมุ่งหมายในการสังเกตที่เเน่นอน
6.ก่อนสรุปผลควรสังเกตหลายๆครั้งในสถานการณ์เเละโอกาสต่างๆเเละควรใช้ผลการสังเกตควบคู่กับเครื่องมือวัดผลอื่นๆ เช่นใช้ร่วมกับการสัมภาษณ์หรือเเบบสอบถาม
การสัมภาษณ์ (Interview)
การสัมภาษณ์เเบบไม่มีโครงสร้าง
การสัมภาษณ์ที่ไม่ใช้เเบบฟอร์มการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์เเบบไม่มีโครงสร้าง
การสัมภาษณ์โดยใช้เเบบฟอร์มสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นไว้เเล้ว เป็นเเนวในการถาม
รูปเเบบของการสัมภาษณ์
1.ส่วนที่1-เป็นบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการสัมภาษณ์
2.ส่วนที่2-เป็นรายละเอียดส่วนตัวของผู้ถูกสัมภาษณ์
3.ส่วนที่3-เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับการสัมภาษณ์
หลักทั่วไปในการสัมภาษณ์
1.การเตรียมตัวก่อนการสัมภาษณ์
2.การดำเนินการสัมภาษณ์
3.การจดบันทึกคำตอบในเเบบสัมภาษณ์
เเบบสอบถาม (Questionaire)
โครงสร้างของเเบบสอบถาม
ส่วนที่2- สภาพทั่วไป ในส่วนรายละเอียดส่วนตัวของผู้ตอบ
ส่วนที่3-ข้อคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่จะวัด
ส่วนที่1-คำชี้เเจงในการตอบคำถาม
1.2 ลักษณะของการสอบถาม
1.3 เเสดงความรักผิดชอบ(ถ้ามี)
1.1 จุดมุ่งหมายของการสอบถาม
1.4 ตอนสุดท้ายของคำชี้เเจงควรกล่าวขอบคุณในความร่วมมือ
หลักในการสร้างเเบบสอบถาม
1.กำหนดประเด็นหลัก
2.กำหนดชนิดหรือรูปเเบบสอบถาม
3.สร้างคำถามตามจุดมุ่งหมาย ชนิดหรือรูปเเบบ
4.ตรวจทานเเก้ไข ปรับปรุง มี2 ระยะ คือ ระยะเเนกตรวจทานโดยผู้สร้างเเบบสอบถามเอง เเละส่วนระยะที่สองตรวจสอบพิจารณาให้คำเเนะนำเเละวิจารณ์โดยผู้รู้
5.นำเเบบสอบถามไปทดลองใช้ (try out)
วิเคราะห์เเบบสอบถาม
7.จัดพิมพ์เป็นเเบบสอบถามฉบับจริง
รูปเเบบของการสอบถาม
1.เเบบสอบถามชนิดปลายเปิด
เปิดโอกาสให้ผู้ตอบเขียนตอบอย่างอิสระ
2.เเบบสอบถามชนิดปลายปิด
2.1 เเบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
2.2 เเบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)
2.3 เเบบจัดอันดับ (Rank Order)
2.4 เเบบเติมคำสั้นๆในช่องว่าง
การจัดอันดับ (Rank Order)
ลักษณะของการจัดอันดับ
1. ใช้ในกรณีที่มีผลงานหลายชิ้น เเต่มีกรรมการวัดผลคนเดียว
เเบบที่1 การจัดกลุ่มในลักษณะเดียวเเล้วจึงให้คะเเนน
เเบบที่3 การพิจารณาให้คะเเนนจากหลายๆลักษณะโดยตรง
เเบบที่ 2 การจัดกลุ่มในหลายๆลักษณะเเล้วจึงให้คะเเนน
2.ใช้ในกรณีทีมีผลงานหลายชิ้นเเละมีกรรมการวัดผลหลายคน
การวัดภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)**
ขั้นของการวัดภาคปฏิบัติ
2.ขั้นปฏิบ้ติงาน
3.ขั้นผลงาน
1.ขั้นเตรียมงาน
หลักการวัดภาคปฏิบัติ
1.ต้องบอกให้ผู้ถูกวัดทราบล่วงหน้าว่าจะปฏิบัติอะไร อย่างไร
2.กรรมการหรือผู้วัดจะใช้การสังเกตวัดการปฏิบัติงานของผู้ถูกวัด
3.ต้องกำหนดจุดประสงค์ของการวัดภาคปฏิบัติให้ชัดเจน
4.คุณภาพของสิ่งที่จะวัดในครั้งหนึ่งๆมีจำนวนเพียงพอ
5.เเบบฟอร์มที่ใช้วัดมักจะเป็นเเบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
6.ไม่ควรวัดภาคปฏิบัติทุกคาบที่เรียนหรือทุกเเผนการสอน
ประเภทของการวัดปฏิบัติ
1.เเบ่งตามด้านที่ต้องการวัด
2. เเบ่งตามลักษณะสถารการณ์
2.1 ใช้สถานการณ์จริง
2.2 .ใช้สถานการณ์จำลอง
1.2 การวัดผลงาน
1.1 การวัดกระบวนการ
3. เเบ่งตามสิ่งเร้า
3.1 ใช้สิ่งเร้าที่เป็นธรรมชาติ
3.2 ใช้สิ่งเร้าที่จัดขึ้น
ขั้นตอนการสร้างเเบบวัดผลงานภาคปฏิบ้ติ
2.กำหนดคะเเนนเเละน้ำหนัก
1.วิเคราะห์งานเเละเขียนรายการ
3.กำหนดเกณฑ์การให้คะเเนน
4.จัดรูปเเบบเครื่องมือ
การวัดสภาพจริง (Authentic Assessment)
การวัดผลงานของนักเรียนในสภาพที่เป็นจริงหรือเป็นไปตามธรรมชาติ จึงเป็นพฤติกรรมของนักเรียนเป็นจริงซึ่งวัดทั้งด้านพุทธืพิสัย ด้านจิตพิสัยเเละด้านทักษะพิสัย
การวัดสภาพจริง นักเรียนจะไม่ทราบเป็นการล่วงหน้า
การวัดสภาพจริงไม่ได้กำหนดเวลาเเน่นอนโดยจะสอดเเทรกอยู่ในสภาพการเรียนการสอนประจำวันเเละมักจะใช้เวลานานๆจึงจะวัดได้
การวัดสภาพจริงจะมุ่งเน้นด้านจิตพิสัย
การทดสอบ (Test)
ประเภทของเเบบทดสอบ
1.เเบ่งตามสมรรถภาพที่จะวัด
1.1 เเบบทดสอบวัดสัมฤทธิ์
1.1.1 เเบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น
1.1.2 เเบบทดสอบมาตรฐาน
1.2 เเบบทดสอบวัดความถนัด
1.2.2 เเบทดสอบวัดความถนัดเฉพาะ
1.2.1 เเบททดสอบวัดความถนัดทางการเรียน
1.3 เเบบทดสอบวัดบุคลิกภาพเเละทางสังคม
1.3.1 เเบบวัดเจคติ
1.3.2 เเบบวัดความสนใจ
1.3.3 เเบบวัดการปรับตัว
2.เเบ่งตามลักษณะการตอบ
2.1เเบบทดสอบข้อเขียน
2.2 เเบบทดสอบปากเปล่า
3.เเบ่งตามเลาที่กำนดให้ตอบ
3.1 เเบบทดสอบที่จำกัดเวลาในการตอบ
3.2 เเบบทดสอบที่ไม่จำกัดเวลาในการตอบ
4.เเบ่งตามสิ่งเร้าของการถาม
4.1 เเบบทดสอบทางภาษา
4.2 เเบบทดสอบที่ไม่ใช้ภาษา
5.เเบ่งตามการใช้ประโยชน์
5.1 เเบบทดสอบย่อย
5.2 เเบบทดสอบรวม
6.เเบ่งตามรูปเเบบของข้อสอบ
6.1 เเบบทดสอบอัตนัย
6.2 เเบบทดสอบปรนัย
ลักษณะของเเบบทดสอบที่ดี
1.ความเที่ยงตรง
1.1 ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
1.2 ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
1.3 ความเที่ยงตรงตามสภาพ
1.4 ความเที่ยงตรงตามการพยากรณ์
3.ความยุติธรรม
2.ความเชื่อมั่น
4.ความลึกของคำถาม
5.ความยั่วยุ
ุ6.ความจำเฉพาะเจาะจง
7.ความเป็นปรนัย
7.2 ตรวจคะเเนนได้ตรงกัน
7.3 เเปลความหมายของคะเเนนได้เหมือนกัน
7.1 ตั้งคำถามให้ชัดเจน
8.ประสิทธิภาพ
9.อำนาจจำเเนก
10.ความยาก
การวัดโดยใช้เเฟ้มสะสมงาน (Portfolios)
การสะสมผลงานของนักเรียนอย่างมีจุดหมาย เพื่อเเสดงถึงความก้าวหน้าของเเต่ละคน
เหมาะกับการวัดด้านคุณลักษณะของนักเรียนเเต่ละคน
สอดคล้องกับวัดผลในสภาพจริง ซึ่งเกี่ยวกับการวัดด้านจิตพิสัยเเละด้านทักษะพิสัย
เน้นการรวบรวมผลงานของนักเรียนเเต่ะคน ซึ่งตรงกับหลักการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ