Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ (Research instruments )…
เครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
(Research instruments )
ประเภทและวิธีการตรวจสอบความเที่ยงตรง
ความหมาย ความสามารถของเครื่องมือวัด สามารถวัดเนื้อเรื่องในประเด็นที่ศึกษาได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
ขั้นตอนการพัฒนาเครื่องมือ
1กำหนดประเด็นและตัวแปรที่ต้องการศึกษาและรวบรวมข้อมูล
2กำหนดกรอบทฤษฎี (Define the conceptual framework)
3กำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Define the operational definition)
4การออกแบบเครื่องมือหรือมาตรวัด (Design the scale)
5ระบุสาระของมิติหลัก (Domain content)
6ร่างคำถาม (Drafting the item contents)
7 เรียงลำดับคำถาม (Sequence the questions) โดยเรียงจากคำถามในเรื่องง่ายไปยาก และเรียงให้เป็นหมวดหมู่หรือมิติ
8 นำเครื่องมือไปตรวจสอบคุณภาพ (Judgment qualification)กับผู้เชี่ยวชาญ
การพิจารณาความตรงเชิงเนื้อหา
การพิจารณามาคำนวณหาค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity index หรือ CVI) ซึ่งค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาที่ยอมรับได้คือ .80 ขึ้นไป และพิจารณาปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ
การตรวจสอบคุณภาพ
ของเครื่องมือการวิจัย
ความเที่ยงตรง (Validity) สามารถวัดคุณลักษณะที่ต้องการจะวัดได้อย่างแท้จริงและนำไปแปลผลได้
ความเชื่อมั่น (Reliability) เป็นคุณสมบัติว่าเมื่อใช้เครื่องมือนั้นไปวัดสิ่งเดียวกันจะให้ผลแน่นอน สม่ำเสมอ คงเส้นคงวา
ความเป็นปรนัยหรือภววิสัย (Objectivity) มีคุณสมบัติ 3
ความชัดเจนในความหมายของ
ความคงที่ในการตรวจให้คะแนน
ความแจ่มชัดในการแปลความหมายของคะแนน
ความไว (Sensitivity) คือ ความสามารถในการบอกความเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่ต้องการวัด