Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ (Research instruments )…
เครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
(Research instruments )
ประเภทของเครื่องมือวิจัย
แบ่งตามลักษณะของการสร้าง
1 เครื่องมือมาตรฐาน การทดลองใช้และผ่านการตรวจสอบคุณภาพจนได้มาตรฐาน
2 เครื่องมือเฉพาะกิจ สร้างขึ้นเพื่อการศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่จำกัดด้วยเวลา
แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน
เครื่องมือที่ใช้วัดสมบัติทางกายภาพ เช่น เครื่องชั่งน้ำหนัก นาฬิกาจับเวลา
2 เครื่องมือที่ใช้วัดสมบัติทางเคมี เช่น เครื่องวัดพีเอช (pH meter) เครื่องวิเคราะห์กรดด่างและก๊าซในเลือด
3.เครื่องมือที่ใช้วัดสมบัติทางชีวภาพ เช่นเครื่องวัดน้ำตาลในเลือด
ประโยชน์ของเครื่องมือวิจัย
ใช้เป็นสื่อเชื่อมโยงกรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร หรือ ข้อมูลที่สนใจศึกษา เพื่อนำมาซึ่งการเก็บรวบรวมข้อมูบที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ผู้วิจัยต้องการวัด
เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาวิชาชีพ
โดยเฉพาะถ้าเป็นเครื่องมือทางการพยาบาลก็จะเป็นการพัฒนาเครื่องมือวิจัยทางการพยาบาลเป็นเครื่องมือมาตรฐาน
(Standard instruments)
เทคนิคการสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัยทางการพยาบาล
ผู้วิจัยสร้างเครื่องมือวิจัยขึ้นมาใหม่ทั้งหมด
ผู้วิจัยมิได้สร้างเครื่องมือใหม่แต่นำเครื่องมือที่มีอยู่แล้วมา “พัฒนา”
ผู้วิจัยนำเครื่องมือวิจัยที่มีอยู่แล้วมาใช้ในการวิจัย
จรรยาบรรณการใช้เครื่องมือวิจัยทางการพยาบาล
ความรับผิดชอบ (Responsibility)
ความสามารถในการใช้เครื่องมือวิจัย (Competence or skill)
การแปลความหมายของเครื่องมือวิจัยผิดหรือการหลอกลวง
มาตรฐานทางศีลธรรมและกฎหมาย (Moral and legal standard)
การรักษาความลับ (Confidentiality)
ความปลอดภัยของเครื่องมือวิจัย (Research tools security)
เครดิตในการพิมพ์ (Publication credit)
การใช้เทคนิคการสมานจิต (Rapport techniques)
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวิจัย
ขั้นตอนที่ 1 “ร่าง” กำหนดองค์ประกอบตัวแปรและระดับของตัวแปร
ที่ต้องการวัด รวมทั้งกำหนดตัวชี้วัด ของตัวแปรในรูปของข้อคำถาม
ขั้นตอนที่ 2 พบเชี่ยวชาญตามสาขาความรู้
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นหาความเที่ยงตรง (Validity) โดยพบผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบความตรง ความชัดเจน ความครอบคลุมของเนื้อเรื่อง
ขั้นตอนที่ 4 “พัฒนา” หมายถึง การทำให้ดีขึ้น การพัฒนาเครื่องมือวิจัยในขั้นตอนนี้เป็นการแก้ไขปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
ขั้นตอนที่ 5 ขั้นทดลองใช้ (Tryout) กับกลุ่มตัวอย่าง แต่มิใช่กลุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยต้องการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์
ข้อตอนที่ 6 ขั้นหาความเชื่อมั่น (Reliability)