Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือวิจัย (การสร้างเครื่องมือ วิจัยประเภทต่าง ๆ…
เครื่องมือวิจัย
การสร้างเครื่องมือ
วิจัยประเภทต่าง ๆ
แบบสอบถาม (Questionnaire)
หลักในการ
ตั้งคำถาม
16.คำตอบที่ให้เลือกควรมีเฉพาะทางเลือกที่เราต้องการเท่านั้น
15.ควรหลีกเลี่ยงคำถามที่เป็นความลับ
14.หลีกเลี่ยงคำถามที่จะทำให้ผู้ตอบเกิดความลำเอียง
13.ควรหลีกเลี่ยงการถามนำ
12.ควรตั้งคำถามชนิดที่นำตัวเลขมาสรุปวิเคราะห์ทางสถิติได้ง่าย
11.หากเป็นคำถามในแบบวัดทัศนคติ
10.หากผู้วิจัยไม่แน่ใจว่าผู้ตอบเข้าใจแบบสอบถามชัดเจน หรือไม่อาจทำการทดสอบด้วยคำถามเชิงความรู้
9.บางครั้งการหลีกเลี่ยงการใช้คำสรรพนามบุรุษที่ 1 หรือ 2
8.คำถามที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทีไม่เป็นที่ยอมรับของสังคม
7.บอกของเขตของคำถามให้ชัดเจนเพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง
6.หลีกเลี่ยงคำถามที่ชี้นำคำตอบไปทางใดทางหนึ่ง
ไม่ควรทึกทักว่าผู้ตอบจะต้องทราบคำตอบของทุกเรื่องที่เราถาม
4.ไม่ถามคำถามที่มี 2 แนวคิดในประโยคเดียว
3.หลีกเลี่ยงการใช้ประโยคหรือวลียาวๆ
พยายามตั้งคำถามในเชิงบอกเล่ามากกว่าปฏิเสธ
คิดให้ชัดเจนว่าต้องการข้อมูลอะไร
ขั้นตอนการสร้าง
ต้องพิจารณาหัวข้อปัญหาและจุดมุ่งหมาย เพื่อทราบว่าต้องการข้อมูลชนิดใด อะไรบ้าง
2.ต้องพิจารณาเกี่ยวกับรูปแบบที่จะใช้ว่าจะใช้แบบปลายปิดหรือปลายเปิดหรือแบบผสม
3.ร่างแบบสอบถามเป็นการลงมือปฏิบัติจริงโดยเขียนข้อคำถามต่างๆ ให้สอดคล้องกับหัวข้อปัญหาและจุดมุ่งหมายที่ได้กำหนดไว้
4.ตรวจสอบแบบสอบถามฉบับร่างเพื่อปรังปรุงแก้ไข ได้แก่ ตรวจสอบโดยผู้ร่างเอง และการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
5.ทำการทดลองแบบสอบถาม (Try out) เพื่อนำผลที่ได้มาวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบสอบถามและปรับปรุง
6.ทำการปรับปรุงครั้งที่ 2
7.สร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ มีพร้อมที่จะไปเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างจริงได้
แบบทดสอบ (Test)
การวางแผนการ
และขั้นตอนการ สร้างแบบทดสอบ
1.กำหนดวัตถุประสงค์ในการศึกษา
2.กำหนดลักษณะของแบบทดสอบที่จะใช้
3.การสร้างแบบทดสอบ
4.การสร้างตัวคำถาม ยึดหลักใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย
5.การประเมินคุณภาพของแบบทดสอบ ได้แก่ ความเที่ยงตรง (Validity), ความเชื่อมั่น (Reliability) และความเป็นปรนัย (Objective)
คือชุดของสิ่งเร้าที่นำไปกระตุ้นให้บุคคลตอบสนองออกมา นิยมใช้วัดทางด้านพุทธิปัญญา เป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, แบบทดสอบวัดความถนัด และแบบทดสอบบุคคล – สังคม เช่น แบบทดสอบวัดทัศนคติ วัดความสนใจ วัดการปรับตัว
การสร้างแบบวัดทัศนคติ
ความหมาย ของทัศนคติ
หมายถึง ความเชื่อหรือการรับรู้ของบุคคล ต่อสิ่งเร้า ซึ่งจะแสดงความรู้สึกหรือมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าออกมา โดยแสดงออกมาในทางสนับสนุน ความรู้สึกเห็นดี เห็นชอบต่อสิ่งเร้านั้น ๆ หรือในทางต่อต้านซึ่งมีความรู้สึกที่ ไม่เห็นดี ไม่เห็นชอบต่อสิ่งเร้านั้น
หลักในการสร้าง
ข้อความวัดทัศนคติ
ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนที่เป็นข้อความ เรียกว่า ข้อความวัดทัศนคติ และส่วนที่เป็นคำตอบ ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบมาตรประเมินค่า เรียกรวมกันว่า มาตรวัดทัศนคติ
ขั้นตอนการสร้าง
มาตรวัดทัศนคติ
1.ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติเรื่องนั้น จนเกิดความรู้ ความเข้าใจ
2.เขียนและเรียบเรียงข้อความหลายๆ ข้อ เพื่อใช้วัดทัศนคติ
3.ตรวจและปรับปรุงแก้ไขข้อความที่เรียบเรียงขึ้นในข้อ 2
4.เลือกใช้วิธีการสร้างมาตรวัดทัศนคติซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายวิธี
5.นำมาตรวัดทัศนคติที่สร้างขึ้นมาทดลองใช้กับกลุ่มคนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
6.ทดสอบความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของมาตรวัดทัศนคตินั้น
ชนิดของมาตร วัดทัศนคติ
1.มาตรวัดทัศนคติแบบเธอร์สโตน (Thurstone’s type scale)
2.มาตรวัดทัศนคติแบบลิเคิร์ท (Likert scale)
3.มาตรวัดทัศนคติแบบกัตต์แมน (Guttman scale)
4.มาตรวัดทัศนคติแบบออสกูด (Osgood’s scale)
นางสาวอินทิรา หัสจักร์ รหัสนักศึกษา 592901080