Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Vital signs images (การประเมินภาวะไข้ images (3) (ผลกระทบของการมีไข้…
Vital signs
การประเมินชีพจร
ความหมายการประเมินชีพจร
ในคนปกติชีพจรจะทราบถึงการเต้นของหัวใจ ดังนั้นจำนวนครั้งของชีพจร = จำนวนครั้งของการเต้นของหัวใจ
ถ้าคนไม่ปกติ จะมีปัญหาเกี่ยวกับหลอดเลือดของหัวใจ การบีบตัวของหัวใจไม่สม่ำเสมอ ทำให้จำนวนครั้งของชีพจรแตกต่างกับจำนวนครั้งของการเต้นของหัวใจ ในกรณีนี้ พยาบาลต้องประเมินทั้ง peripheral pulse และประเมินการเต้นของหัวใจที่ตำแหน่ง apical pulseร่วม
ตำแหน่งการจับชีพจร
1.ขมับ (temporal artery)
2.ลำคอ (carotid artery)
3.ยอดของหัวใจ (apical)
4.ข้อพับแขน (brachial artery)
5.ข้อมือ (radial artery)
6.ขาหนีบ (femoral artery)
7.ข้อพับเข่า(popliteal artery)
8.ตาตุ่ม (posterior tibial artery)
9.หลังเท้า (dorsalis pedis artery)
ปัจจัยที่มีผลต่อชีพจร
- อายุ ถ้าอายุเพิ่มอัตราการเต้นชีพจรจะลดลง
2.เพศ หลังวัยเจริญพันธ์ อัตราการเต้นของชีพจรของผู้ชายต่ำกว่าของผู้หญิงเล็กน้อย
- การออกกำลังกาย
4.ไข้
5.ยา
6.การเสียเลือดจากระบบไหลเวียน
7.ความเครียด
8.ความปวด
9.การเปลี่ยนท่าทาง
สิ่งที่ต้องประเมิน
1.ประเมินสภาวะการทำงานของหัวใจว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่
2.ตรวจตราและประเมินการเปลี่ยนแปลงของสภาวะสุขภาพของผู้ป่วย
3.ประเมินการตอบสนองของหัวใจต่อการรักษาและการให้ยา
4.ประเมินการไหลเวียนของหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงแขนหรือขาว่าเพียงพอหรือไม่
-จำนวนครั้งต่อนาที
-จังหวะ(เร็ว/ช้า สม่ำเสมอ/ไม่สม่ำเสมอ)
-ความแรง (แรงดันชีพจร เบา/แรง)
-ความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือด
การหายใจ
-
-
วิธีทำ
1.ประเมินการหายใจโดยไม่ให้ผู้ป่วยรู้ตัว ถ้าออกกำลังกายมาให้พักนาน 5-+0 นาที สำหรับเด็กเล็ก ควรประเมินการหายใจก่อนประเมินชีพจร และวัดดอุณหภูมิ ถ้าเด็กร้องไห้ คารให้เด็กหยุดร้องไห้ก่อน
-
3.จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่สบาย ส่วนใหญ่มักให้นั่งตัวตรงหรือนอนศีรษะสูง 45-60 องศา เพื่อส่งเสริมให้การระบายอากาศเป็นไปได้อย่างเต็มที่
4.วางมือผู้ป่วยพาดบนหน้าอกส่วนล่าง หรือหน้าท้องส่วนบน ควรประเมินการหายใจขณะที่มือยังจับชีพจรอยู่ เพื่อไม่มห้ผู้ป่วยทราบว่ากำลังถูกประเมินการหายใจ
-
6.นับอัตรการหายใจผู้ป่วยครั้งแรกให้ครบ 1 นาที ผู้ป่วยที่หายจังหวะสม่ำเสมอ ให้นับ 30 วินาทีแล้ว ×2 สำหรับขวบปีแรกหรือเด็กเล็ก ให้นับเต็มนาที
-
-
-
-
-
-
-
การประเมินภาวะไข้
-
-
-
-
-
-
ผลกระทบของการมีไข้
มีการเพิ่มของMetabolism ประมาณร้อยละ10-12 ต่อทุก 1 องศาเซลเซียส ที่เพิ่มขึ้น ชีพจรเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 10-15 ครั้งต่อทุก 1 องศาเซลเซียส ที่เพิ่มขึ้น
-
-
-
-
-
-
Blood pressure
ความหมาย
แรงดันของเลือดที่เกิดจากการบีบตัวของหัวใจห้องleft ventricleทำให้มีปริมาณเลือดเข้าสู่Aorta กระทบผนังหลอดเลือดแดง ซึ่งสามารถวัดค่าได้ 2 ค่า คือ ค่าสูงสุดของแรงดันโลหิต(systolic blood pressure) และค่าต่ำสุดของแรงดันโลหิต (diastolic blood pressure)
-
-
-
การประเมินความปวด
-
การซักประวัติความปวด
-
-
-
-
-
-
- relieving factors ปัจจัยที่ทำให้ปวดน้อยลง
8.ประวัติทางด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม คุณภาพชีวิต การทํากิจวัตรประจําวัน และอาการอื่นๆ ที่พบร่วมด้วยควรบันทึกโดยละเอียด
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการมีไข้สูง เช่นภาวะขาดน้ำ ชัก
ข้อมูลสนับสนุน
-
ริมฝีปากแห้ง
บ่นกระหายน้ำและปวดศีรษะมาก
-
-
เกณฑ์การประเมิน
ไม่มีภาวะขาดน้ำคืออ่อนเพลียริมฝืปากและเยื่อบุปากแห้ง ตาโบ๋ (เบ้าตาลึก) ความตึงตัวของผิวหนังลดลงหรือหนังเหี่ยว (poor skin turgor) กระหายน้ำ ลิ้นเป็นฝ้าหนา ปัสสาวะน้อยสีเหลืองเข้ม ชีพจรเบา เร็ว
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
เช็ดตัวลดไข้
-
-
-
ดูแลให้คนไข้ได้รับน้ำดื่มอย่างเพียงพอ 2,000-3,000 ซีซี (8-12 แก้ว)
-
-
-
-
การประเมินผลการพยาบาล
-
-
-
ผู้ป่วยดื่มน้ำได้ 2,500 ซีซี ไม่เกิดภาวะขาดน้ำ และภาวะชัก
-