Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PID(Pelvic inflammatory disease) (Problem list (Lymphocyte ต่ำ9.9,…
PID(Pelvic inflammatory disease)
Past history
U/D
Present illness
ปวดศีรษะบริเวณท้ายทอย ทานปริมาณมากกลืนเร็ว
อาการสำคัญ
ปวดท้อง5ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
ตรวจเลือดตรวจปัสสาวะ
ตรวจภายในการประเมินการตกขาว
พยาธิสภาพของโรค
ภาวะอักเสบในอุ้งเชิงกรานเกิดจากการติดเชื้อร่วมกันของเชื้อโรคหลายชนิดที่เรียกว่า polymicrobial infection เชื้อโรคผ่านขึ้นไปจากอวัยวะสืบพันธ์ส่วนล่างขึ้นไปยังอวัยวะสืบพันธ์ส่วนบนโดยไปตามเยื่อบุผิวที่ปกคลุมช่องคลอดและปากมดลูก ผ่านขึ้นไปยังโพรงมดลูก ท่อนำไข่ และเข้าสู่ช่องท้อง กระบวนการนี้เรียกว่า canalicular spreading ปกติเชื้ออสุจิ สี และเลือดระดูสามารถผ่านเข้าไปอยู่ในช่องท้องทางท่อนำไข่ จากการทดลองพบว่าเชื้อโรคสามารถผ่านเข้าไปได้ แต่ไม่ได้ทำให้เกิดการติดเชื้อเสมอไป ทั้งนี้ขึ้นกับความรุนแรง จำนวนและ viability ของตัวเชื้อ และกลไกต่อต้านเฉพาะที่ของสตรีผู้นั้นเอง
สาเหตุ
สาเหตุจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคหนองในแท้
โรคหนองในเทียม
เคยเป็นโรคอุ้งเชิงกรานอักเสบมาก่อน
เคยทำหัตถการเกี่ยวกับปากมดลูก
การตรวจภายในมดลูก
การทำแท้ง
การใส่อุปกรณ์คุมกำเนิดเข้าไป
ปัจจัยเสี่ยง
การทำหัตถการต่างๆ
การสอดเครื่องมือผ่านปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูกดังกล่าวมาแล้ว
ประวัติเคยเป็น PID มาก่อน
วิธีคุมกำเนิด
การรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิดช่วยลดอัตราการเกิด PID ลงถึงร้อยละ 40-60
ถุงยางอนามัย diaphragms ช่วยลดความเสี่ยงต่อ PID ลงร้อยละ 60
การใช้ห่วงอนามัย เพิ่มความเสี่ยง PID 2-4 เท่า
อายุ
สูงสุดในช่วงอายุ 15-24 ปี
กิจกรรมทางเพศ
การมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุน้อย
สำส่อนทางเพศ (มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 4-6 เท่า)
การมีเพศสัมพันธ์บ่อยๆในสตรีที่มีคู่นอนคนเดียวมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น
อาการ
Gonococcal PID
ไข้สูง
ตกขาวเป็นหนอง
มี peritoneal signs
บางครั้งมีคลื่นไส้อาเจียน
Chlamydial PID
อาจมีอาการปวดท้องน้อยไม่รุนแรงแต่เรื้อรังมานาน
อาจมีเลือดออกกะปริบกะปรอยร่วมด้วย
ESR สูงขึ้น
ท่อนำไข่มักมีอาการอักเสบรุนแรงและมีพังผืดเกิดขึ้น
Nongoccal nonchlamydial PID
การวินิจฉัย
เกณฑ์หลัก (major criteria): ต้องมีครบทั้ง 3
Tenderness with motion of the cervix and uterus
Abdominal direct tenderness with/without rebound tenderness
Adnexal tenderness
เกณฑ์รอง (minor criteria): มีอย่างน้อยข้อใดข้อหนึ่ง
ตรวจพบเม็ดเลือดขาวเมื่อตรวจสารคัดหลั่งของช่องคลอดในน้ำเกลือ (wet preparation) ด้วยกล้องจุลทรรศน์
พบ mucopurulent discharge ที่ผิดปกติบริเวณปากมดลูกหรือช่องคลอด
ตรวจพบ erythrocyte sedimentation rate สูงเพิ่มขึ้น
วัดอุณหภูมิทางปาก (oral temperature >38.3° C หรือ > 101° F)
ตรวจพบ C-reactive protein สูงเพิ่มขึ้น
ตรวจทางห้องปฏิบัติพบว่ามีการติดเชื้อหนองในแท้หรือหนองในเทียมที่ปากมดลูก เช่น เมื่อเก็บตัวอย่างจากช่องคอปากมดลูกมาย้อม Gram stain พบว่ามีเชื้อรูปร่างแบบ diplococci แกรมบวกอยู่ภายในเซลล์ (intracellular)
การรักษา
การใช้ยาปฏิชีวนะ
ตำรับยาฉีด
Cefotetan 2 g IV every 12 hours
Cefoxitin 2 g IV every 6 hours
Doxycycline 100 mg orally หรือ IV every 12 hours
ตำรับยารับประทาน
Ofloxacin 400 mg orally twice a day for 14 days
Levofloxacin 500 mg orally once daily for 14 days
Ceftriaxone 250 mg IM in a single dose
Doxycycline 100 mg orally twice a day for 14 days
Metronidazole 500 mg orally twice a day for 14 days
การให้คำแนะนำ
แนะนำให้คู่นอนไปตรวจด้วยและไม่เปลี่ยนคู่นอนบ่อยๆ
แนะนำให้งดมีเพศสสัมพันธ์
ห้ามสวนล้างช่องคลอด เวลาล้างทำความสะอาดให้ใช้น้ำเปล่าหรือน้ำสบู่
ดูแลรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์โดยทำความสะอาดเช้า-เย็น และทุกครั้งหลังขับถ่าย โดยทำความสะอาดจากหน้าไปหลังและไม่ถูวนไปวนมา
ปัญหาทางการพยาบาล
1.มีการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน
2.แนะนำให้ผู้ป่วยงดการร่วมเพศในรายที่เป็นโค
3.ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขอนามัย
1.แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์
2.เสี่ยงต่อการเกิดโรคซ้ำ
2.หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ช่วงที่เป็นโรค
3.แนะนำผู้ป่วยว่าถ้ามีอาการให้มาหาหมอทันที
1.แนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับโรคที่เป็น
3.ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดท้อง
2.แนะนำให้หายใจเข้าลึกๆหายใจออกลึกๆเป็นจังหวt
3.ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
1.ประเมินอากาารปวดท้อง
Problem list
Lymphocyte ต่ำ9.9
Neutrophil สูง86.0
Hct ต่ำ 36.9
P=122
T=38.5 องศา
eosinophil ต่ำ 0.1
พบwbc 1-2ใน UA
มีอาการปวดท้อง