Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การทบทวนวรรณกรรม และการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย (หลักเกณฑ์สำคัญในการเขียนผ…
การทบทวนวรรณกรรม
และการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย
การทบทวนวรรณกรรม หมายถึง การศึกษาเชิงทฤษฎี หรือผลงานวิจัย หรือรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด หรือทฤษฎีในการทำวิจัยจากวารสาร หนังสือ ตำรา รายงานการวิจัย หรือแหล่งความรู้อื่น ๆ
จุดมุ่งหมาย
เป็นการประเมินความเป็นไปได้
รวบรวมข้อมูลรายละเอียดในเรื่องวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การเตรียมกรอบทฤษฎี
มีความรอบรู้ในข้อเท็จจริงที่เป็นที่ยอมรับ
รวบรวมแนวความคิดในการตั้งปัญหา
เพื่อให้เกิดความไว้วางใจในการเปรียบเทียบ วิเคราะห์และแปลผลข้อมูลวิจัยที่ใกล้เคียงกัน
การประเมินเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 1 ระบุจุดประสงค์ในการอ่าน ให้กระจ่าง
ขั้นที่ 2 อ่านบทความผ่าน ๆ
ขั้นที่ 4 รวบรวมความรู้ความเข้าใจ
ขั้นที่ 4 รวบรวมความรู้ความเข้าใจ
ขั้นที่ 5 ประเมินเอกสาร
หลักเกณฑ์การทบทวนวรรณกรรม
ครอบคลุมตัวแปรที่จะศึกษามากที่สุด
เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางการพยาบาล
ใกล้เคียงกับเรื่องที่กำลังทำ
ได้เสนอแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่องที่ทำอยู่
ขั้นตอนทบทวนวรรณกรรม
การอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์
ก. เอกสาร
ด้านหน้าของบัตรบันทึก
ชื่อ-สกุลผู้แต่ง ,ปีที่พิมพ์,ชื่อหนังสือหรือบทความ,ชื่อโรงพิมพ์,เล่มที่ของวารสาร,เลขหมู่หนังสื,หัวเรื่อง
ด้านหลังของบัตรบันทึก
ใช้สำหรับบันทึกข้อความทั้งหมดที่เป็นเนื้อหาที่จะใช้ในรายงานการวิจัย
ข. งานวิจัย
ชื่อผู้วิจัย,ปีที่รายงานวิจัย,ชื่อเรื่องวิจัย, วัตถุประสงค์, สมมติฐาน,ประเภท หรือรูปแบบการวิจัย, ประชากร (ใคร ที่ไหน) , วิธีการเลือกตัวอย่าง,เครื่องมือที่ใช้และวิธีการเก็บข้อมูล ,สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล, สรุปผลการวิจัย
วิธีการเขียนผลการทบทวนวรรณกรรม
ขั้นตอนการเขียนเรียบเรียบผลการทบทวนวรรณกรรม
ข้อค้นพบเกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษา
แนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
กล่าวถึงสิ่งที่น่าจะศึกษาหรือทำวิจัยต่อเนื่อง
วิธีการเขียนผลการทบทวนวรรณกรรม
เขียนโดยใช้ชื่อผู้แต่งนำต้นประโยค หรือย่อหน้า แล้วตามด้วยรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ทำวิจัยว่า ใคร ทำวิจัยเมื่อไร เรื่องอะไร และค้นพบอะไรบ้าง แล้วต่อด้วยนักวิจัยคนที่สอง คนที่สามและคนที่สี่ตามลำดับ
การค้นหาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ย้อนหลังแค่ระยะเวลา 5 ปี ก็เป็นการเพียงพอ ยกเว้นมีน้อยจึงมากกว่า5ปี
เอกสารที่เชื่อถือได้
หลักเกณฑ์สำคัญในการเขียนผลการทบทวนวรรณกรรมให้มีคุณภาพ
วิธีการนำเสนอที่ดี
เน้นการเกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัยที่ทำ
. มีการวางแผนที่ดี
การทบทวน (Review) ไม่ใช่จำลอง (Reproduce) งานวิจัย
มีความต่อเนื่องและมีลำดับ
มีหลักยึดในการเขียนอ้างอิง
สาระของการนำเสนอผล
ส่วนที่เป็นองค์ความรู้
ส่วนที่เป็นผลงานวิจัย
การสังเคราะห์
วิธีการเขียนเอกสารอ้างอิง
ประเภทหนังสือ
ชื่อผู้แต่ง.// ปีที่พิมพ์. //ชื่อหนังสือ.// ฉบับพิมพ์.// ชื่อชุด,///////// /อันดับที่.// สถานที่พิมพ์/ : / สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์.(กำหนดให้/เป็นระยะพิมพ์ที่เว้น 1 ตัวอักษรพิมพ์)
ประเภทวารสาร
ชื่อผู้เขียนบทความ. ปีที่พิมพ์. “ชื่อบทความ”, ชื่อวารสาร.ลำดับที่ (วัน เดือน ปี), เลขหน้าที่ปรากฏบทความในวารสาร
ประเภทรายงานการวิจัย และวิทยานิพนธ์
ขื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์. ปีที่เสนอวิทยานิพนธ์. “ชื่อวิทยานิพนธ์”,วิทยานิพนธ์ของการศึกษาระดับใด ชื่อสาขาวิชาคณะมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ทำวิทยานิพนธ์.
ข้อผิดพลาดที่มักพบในการทบทวนวรรณกรรม
รีบร้อนในการทบทวน
ใช้ข้อมูลทุติยภูมิ มากไป
สนใจเฉพาะสิ่งที่ค้นพบในรายงานวิจัย มองข้ามการวัดหรือวิธีการดำเนินการต่าง ๆ นักวิจัยมองข้ามแหล่งข่าวสารอื่นๆ
นักวิจัยไม่วางขอบเขตการทบทวนวรรณคดี
บันทึกแหล่งข้อมูลที่มาของวรรณคดีไม่ถูกต้อง ,
จดข้อความในบัตรบันทึกมากเกินไป
หลักในการกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
ตรงประเด็น,ง่ายและไม่สลับซับซ้อน ,สอดคล้องกับความสนใจ
ประโยชน์ของการเขียนกรอบแนวคิดในการวิจัย
ขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูล จะช่วยให้ผู้ที่จะทำการวิจัยเลือกวิธีการที่จะใช้เก็บข้อมูลได้
ขั้นตอนการออกแบบการวิจัย เกี่ยวข้อกับตัวอปรต่างๆ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลจะทำให้ทราบว่าเทคนิคของการวิเคราะห์ควรเป็นแบบใด
ขั้นตอนการกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
ทำความเข้าใจชื่อเรื่องการวิจัย
กำหนดตัวแปร
กำหนดประเด็นปัญหาหลัก
กำหนดข้อมูลและแหล่งข้อมูล
กำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการทราบ
วิธีการการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย
แบบพรรณนาความ
มีเหตุผลหรือทฤษฎีอะไรมาสนับสนุน
มีตัวแปรอะไรบ้างที่สำคัญเกี่ยวข้องกับปัญหาหรือประเด็น
ตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตามอย่างไร
แบบจำลอง โดยใช้สัญลักษณ์หรือสมการ ระบุความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
แบบแผนภาพ ใช้แผนภาพ เพื่อทำให้เกิดความชัดเจนมากขึ้น
แบบผสมผสานคือ ผสมผสานระหว่างแบบพรรณนากับแบบจำลอง การพรรณนากับ แผนภาพ และแผนภาพกับแบบจำลอง