Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสารสนเทศ (กลุ่ม Wed) (หนังสือ (สมาชิก (ปัณณ์นภัส 067, ปวีณ์ธิดา…
การประเมินสารสนเทศ (กลุ่ม Wed)
หนังสือ
สมาชิก
ปัณณ์นภัส 067
ปวีณ์ธิดา 066
พัชรี 075
พชิรดา 070
รภัทร 086
ปราริชาติ 065
ปิยะนุช 068
เพราพิลาส 078
ยูสรอ 085
บุตรธิดา 064
บัดโร 063
เกณฑ์การประเมิณของกลุ่มหนังสือ
ความทันสมัยของเนื้อหา
หนังสือเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ไม่ควรเกิน 5 ปี
ควรพิจารณาถึงความทันสมัยของสารสนเทศให้มีการระบุวันที่เผยแพร่ หรือแก้ไขอย่างชัดเจน
อคติในการเขียน
อาจเสนอสารสนเทศไม่เป็นธรรม
เป้าหมายในการเขียน
เป็นวิชาการเชิงลึกสำหรับนักวิชาการหรือการเขียนให้คนอ่านทั่วไป
รูปแบบในการเขียน
มีการคิดรวบยอดที่ระบุชัดเจน มีการสื่อความได้ดี
ความน่าเชื่อถือ
ด้านผู้แต่ง
พิจารณาชื่อ และประวัติผู้แต่งอย่างชัดเจน
พิจารณาว่าผู้แต่งเคยมีผลงานในสาขาที่เรากำลังพิจารณาอยู่หรือไม่
ด้านสำนักพิมพ์
พิจารณาว่าสำนักพิมพ์ที่เผยแพร่นั้นมีความน่าเชื่อถือหรือไม่ โดยสำนักพิมพ์นั้น ควรมีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ
ความเหมาะสมและถูกต้อง
ภาษาในการเขียนเป็นแบบแผนสะกดคำถูกต้อง
มีการแสดงหลักฐานเพื่อสนับสนุนสารสนเทศ
มีอ้างอิงและบรรณานุกรม
องค์ประกอบของหนังสือ
บทนำ
เร้าใจ
เนื้อหา
เข้าใจ
สรุป
ประทับใจ
การเขียนบรรณานุกรมของหนังสือทั่วไป
ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง/ครั้งที่พิมพ์(พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้น)./สถานที่พิมพ์:////////สำนักพิมพ์.
ตัวอย่างหนังสือ
มันสมอง
วิจิตรวาทการ. (2556). มันสมอง (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์.
ความสุขของกะทิ
งามพรรณ เวชชาชีวะ. (2555). ความสุขของกะทิ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: แพรวสำนักพิมพ์.
ชีวิตในวัง
เนื่อง นิลรัตน์, & จิราธร จิรประวัติ. (2550). ชีวิตในวัง (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: ศรีสารา.
สี่แผ่นดิน
คึกฤทธิ์ ปราโมช. (2554). สี่แผ่นดิน (พิมพ์ครั้งที่ 15.). กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า 2000.
แม่เล่าให้ฟัง
กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์. (2550). แม่เล่าให้ฟัง (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม.
วารสาร
สมาชิก
พิมพ์จุฑา 076
ยุพารัตน์ 084
วสันต์ 089
พรชิตา 072
พรจรัส 071
วรางคณา 087
ศิวพันธ์ 091
พิมพ์ชนก 077
พรพิมล 073
การประเมินวารสาร
วารสารต้องมีอายุการตีพิมพ์บทความวิชาการไม่น้อยกว่า 3 ปี
หรือ ตีพิมพ์อย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 6 ฉบับ
วารสารต้องออกตรงตามเวลาที่กำหนด
บทความทุกบทความต้องมีการควบคุมคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ
วารสารต้องมีกองบรรณาธิการเป็นผู้ทรงคุณวุฒิมาจากหลากหลายหน่วยงาน
วารสารต้องตีพิมพ์บทความที่มีผู้นิพนธ์มาจากหลากหลายหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก
รูปเล่มที่ได้มาตรฐานคือ
บรรณานุกรมเป็นรูปแบบเดียวกัน
มีชื่อและที่อยู่ผู้นิพนธ์ชัดเจน
มีบทคัดย่อเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
มีการอ้างอิงที่ตรวจสอบฐานข้อมูลได้
[ตัวอย่างวารสารที่ได้มาตรฐาน]
http://www.libarts.up.ac.th/v2/img/approv.pdf
วารสารต้องมีระบบการจัดการวารสารแบบออนไลน์
กลุ่มผู้ใช้ พิจารณาถึงจุดมุ่งหมายของผู้แต่ง สารสนเทสบางชื่อต้องการให้บุคคลบางประเภทได้ประโยชน์
วัตถุประสงค์ในการนำเสนอ พิจารณาว่าต้องการนำเสนอข้อเท็จจริง การแสดงความคือเห็นหรือการโฆษณาชวนเชื่อ
การเขียนบรรณานุกรมวารสาร
ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง ชื่อวารสาร, ปีที่ (ฉบับที่), หน้าแรก-หน้าสุดท้าย
ตัวอย่าง :สุชาดา ตั้งทางธรรม. (2545). การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: กรณีโรงงานยาสูบกระทรวงการคลัง. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 15(3), 23-37.
อินเทอร์เน็ต
สมาชิก
พรไพลิน 074
ภัทรชนก 082
วไลณัฐ 088
ฟาดีลา 080
เพลินจิต 079
ฟาติน 081
มนชลัช 083
ศศินา 090
การประเมินสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
1.ความน่าเชื่อถือ
-มีการอ้างอิงที่ชัดเจน
-ประวัติผู้จัดทำ
-มีชื่อ ที่อยู่ที่จะติดต่อผู้รรับผิดชอบในการจัดทำเว็บไซต์
-มีการระบุจุดประสงค์ในการจัดทำเว็บ
2.การเข้าถึงข้อมูล
-สามารถค้นหาสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและสะดวก
-ได้สาระสนเทศจริงและนำไปใช้ได้
-ดูความแน่นอนในการเข้าถึง URL ไม่ควรเปลี่ยนบ่อย
3.คุณค่าของเนื้อหา
-เนื้อหาตรงกับความต้องการของผู้ใช้
-เนื้อหามีความถูกต้อง
-เนื้อหาสาระอ่านเข้าใจง่าย มีการใช้ภาษาที่เหมาะสม
-นำเสนอข้อมูลที่เป็นกลาง
-เนื้อหามีความทันสมัย
4.วิธีการนำเสนอเนื้อหา
-จัดเรียงหัวข้อต่างๆอย่างเป็นระบบ
-ง่ายต่อการใช้งานโดยในแต่ละหน้ามีเครื่องหมาย Back Home Top
-เว็บไซต์ที่เชื่อมโยงต้องมมีความเกี่ยวข้องในด้านเนื้อหากับเว็บไซต์นั้นๆ
อ้างอิง: (อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์,2557)