Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเจริญเติบโตและพัฒนาการทารกในครรภ์ (การเจริญเติบโตและพัฒนาการทารกในครรภ์…
การเจริญเติบโตและพัฒนาการทารกในครรภ์
แบ่งเป็น 3 ชนิด
ระยะตัวอ่อน (Zygote หรือ Pre-embryonic stage) เริ่ม 1วัน - 2 wk.
ระยะตัวอ่อน Embryonic stage 3-8 wk. สัปดาห์ที่ 3 จะมีการสร้างเซลล์ส่วนที่ 3 คือ Mesoderm ตัวอ่อนเริ่มสร้างอวัยวะที่สำคัญเรียกว่า Trilaminar embryo
Endodermal germ layer
ระบบประสาทส่วนกลาง สมอง ไขสันหลัง,ระบบประสาทส่วนปลาย
อวัยวะรับความรู้สึก แก้วตา หูชั้นในและนอก
ปาก ทวารหนัก ช่องจมูกและไซนัส
ผิวหนัง ผม เล็บ สารเคลือบฟัน
ต่อมใต้สมอง ต่อมน้ำนม
Mesoderm
ระบบโครงสร้างร่างกาย :เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เอ็นยึดข้อต่อ กระดูก กระดูกอ่อน กล้ามเนื้อและเอ็น
เนื้อฟัน
ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน :ไต ท่อไต
ม้าม หัวใจ ระบบไหลเวียนเลือด: เม็ดเลือดและน้ำเหลือง
ระบบอวัยวะสืบพันธ์ : ต่อมเพศ ท่อต่อมเพศ
Endoderm
เยื่อหุ้มหัวใจ ปอด ตับ ตับอ่อนและเยื่อบุช่องท้อง
ระบบทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ทอนซิล ไทรอยด์ ไทมัส และต่อพาราไทรอยด์
ระบบทางเดินปัสสาวะและส่วนล่าง :กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการทารกในครรภ์
1 wk. ตกไข่ ปฏิสนธิและเกิดการฝังตัว อยู่ในระยะ blastocyte ที่จะเจริญไปเป็นทารก
2 wk. blastocyst จะเกิดช่องว่าง 2 แห่งคือ inner cell mass และ trophoblast ต่อมาโพรงนี้จะหลายเป็นถุงน้ำคร่ำ amniotic cavity และช่องว่างที่เป็น biastocele กลายเป็น primitive yolk sac ทำหน้าที่สะสมอาหารสำหรับตัวอ่อน จะหมดหน้าที่ลงเมื่อถุงไข่ในระยะ secondary yolk sac เจริญเต็มที่ใช้เวลา 9 wk.
3 wk. ตัวอ่อนเจริญอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาตัวอ่อนส่วนที่ 3 คือ mesoderm เรียกตัวอ่อนระยะนี้ว่า trilamina embryo ในระยะแรกของสัปดาห์ที่ 3 เริ่มมี extoderm การเจริญเติบโตของตัวอ่อนระบบของร่างกายระบบแรกที่เกิดขึ้นคือ ระบบหลอดเลือดและหัวใจ เมื่อสิ้นสุดสัปดาห์ที่ 3 หัวใจเริ่มเต้น
4 wk. เริ่มสร้างอวัยวะ ท่อประสาท กล้าเนื้อ กระดูก เกิดการงอตัวมากขึ้น คล้ายตัว c C-shaped curve เมื่อสิ้นสุด wk. 4 เริ่มเกิดตุ่มแขน ขา
5 wk. ส่วนหัวจะเจริญขึ้นมากกว่าส่วนอื่นๆ เริ่มมีการเจริญของสมอง มี cranial nerve 5 คู่ใน 10 คู่ เริ่มสร้างนิ้วเท้า หูนูนขึ้น
6 wk. มองเห็นส่วนต่างๆแยกกันชัดเจนขึ้น เช่น หู ตา นิ้วมือ เท้า ลำตัวยืดออก มีการสร้างกล้ามเนื้อ หัวใจมีการแบ่งห้องเรียบร้อย เริ่มสร้างช่องปาก ช่องจมูกและริมฝีปาก
7 wk. เริ่มมองเห็นลูกตาเด่นชัดขึ้น มีการเจริญของเบ้าตา ลิ้น เพดาน
8 wk. ใบหน้า ตา หู จมูก แขนและขาชัดเจน เริ่มมีการสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกแจ่ยังแยกเพศไม่ได้ เป็นระยะที่สำคัญที่สุดในการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
9-12 wk./ 3 mo. เริ่มคลำยอดมดลูกได้ที่เหนือกระดูกหัวเหน่า เริ่มสร้างเนื้อกระดูก เริ่มแยกเพศได้ ทารกเริ่มมีการเคลื่อนไหวร่างกาย
13-16 wk./4 mo. มีการสร้างขนอ่อน lanugo hair โดยเฉพาะบริเวณศีรษะ สามารถแยกเพศได้ชัดเจน ลำไส้เริ่มมีขี้เทา สามารถกลืนน้ำคร่ำได้ มีการเคลื่อไหวจนมารดูรู้สึกได้
17-21 wk./5 mo. มีขนอ่อนทั้งตัวเริ่มมีไขคลุมผิวหนัง เริ่มสร้างขนคิ้ว ดิ้นจนมารดารู้สึกได้อย่างชัดเจน ฟังเสียงหัวใจได้ด้วยหูฟัง
21-24 wk./6 mo. เริ่มมี reflex การกำมือ ถุงลมในปอด alveoli เริ่มทำงาน ถ้าการตั้งครรภ์ยุติลงในระยะนี้ ทารกจะมีชีวิตได้ 2-3 hr. เพราะระบบหายใจยังไม่เจริญเต็มที่
25-28 wk./7 mo. ระบบประสาทเจริญสมบูรณ์ สั่งงานร่างกายได้ ควบคุมการทำงานของลูกตาให้เปิดปิดได้ ลูกอัณฑะเคลื่อนลงถุง เริ่มแลกเปลี่ยนก๊าซได้
29-32 wk./8 mo. ขนอ่อนตามลำตัวน้อยลง ทารกเริ่มสะสมเหล็ก แคลเซียม และฟอสฟอรัส อัณฑะลงถุงเรียบร้อย
33-36 wk./9 mo. ปอดเจริญเต็มที่และมีสาร surfactant
37-40 wk./10 mo. ทารก 37 wk.ขึ้นไป ถือว่าคลอดครบกำหนด
พัฒนาการของรกและเยื่อหุ้มรก
ประมาณวันที่ 9 หลังปฏิสนธิ blastocyst จะฝังตัวมิดรอบด้านอยู่ใน desidua โดยแยกจาก myometrium ด้วย desidua basalis จมีการเจริญขึ้นเห็นเป็น villi เป็นกระจุก มีเลือดมาเลี้ยงมาก เรียกว่า choronic villi ต่อมาจะเจริญเป็น chorionic frondosum และเจริญไปเป็นก้อนเนื้อรก cotyledon
ลักษณะรก กลม แบน กว้าง 15-20 cm. หนัก 500 g
รกด้านมารดา maternal surface : ยึดเกาะผนังมดลูก มีสีแดงเหมือนเปลือกลิ้นจี่ ปกคลุมด้วย desidua บางๆ แยกกันเป็นก้อนเรียกว่า cotyledon 15-20 ก้อน แต่ละ lobe มีร่องกั้นอยู่เรียกว่า placenta surcus
รกด้านทารก fetal surface สีเทา มัน ปกคลุมด้วย amnion มีสายสะดือติดอยู่ มีหลอดเลือดกระจายจากตำแหน่งที่เกาะสายสะดือ ห่างจากของ 1-2 cm. เห็นเส้นวงสัขาวโดยรอบเกิดจากการเชื่อมติดกันของ desidua vera กับ desidua capsularis เรียกว่า Closing ring of wringle waldeyer
หน้าที่ของรก
ทำหน้าที่แทนปอดให้การแลกเปลี่ยน O2 และ CO2
ทำหน้าที่แทนไต ในการขับถ่ายของเสีย
ให้อาหารแก่ทารก
สร้างฮอร์โมน เช่น HCG , HPL,Estrogen,progesterone
ให้ภูมิต้านทานแก่ทารก
พัฒนาการของ amnion และ umbilical cord
สายสะดือมีสารเมือกสีขาวหุ้มล้อมรอบเรียกว่า whaeton's jelly จะช่วยทำให้สายสะดือลื่นไม่หัก พับ งอ หรือผูกกันแน่นเป็นปมได้ง่าย เส้นเลือมี 3 เส้น คือ Umbilical vein 1 เส้น : นำเลือดดีจากรกไปสู่ทารก และ Umbilical artery 2 เส้น : นำเลือดที่ใช้แล้วจากทารกไปสู่รก
ลักษณะการผูกปม false knot
false jelly knot เกิดจากการขดตัวของเมือกสีขาวใส
เกิดจากการขดตัวของเส้นเลือด /เส้นเลือดขอด
true knot ผูกคล้ายปมเชือก
ตำแหน่งการเกาะสายสะดือ
Centralis insertion เกาะตรงกลางรก
Lateralis insertion เกาะด้านในด้านนึงของรก
Maginalis insertion (battledore insertion) เกาะริมของรก
Membranous insertion (vellamentosa) เกาะบนเยื่อหุ้มรกและมีเส้นเลือดผ่าน อาจก่อให้เกิดอันตราย
น้ำคร่ำหรือน้ำหล่อเลี้ยงเด็ก Amniotic fluid/liquor amnii จะสร้างเมื่อสัปดาห์ที่ 2 พร้อมการก่อตัว amniotic cavity เมื่อตัวอ่อนเจริญขึ้น มีการเกิดการขับถ่ายปัสสาวะของทารกออกมา 500 ml/day
น้ำคร่ำประกอบด้วย น้ำ 98%และ 2% เป็น epidermal cell ขนอ่อน ไข แร่ธาตุ PH 7.2 สีขาวนวล ขุ่น คล้ายสีฟางข้าว ปริมาณ 500-1500 cc. มากกว่า 2000 cc เรียกว่า polyhydramnios น้อยกว่า 300 cc เรียกว่า oligohydramnios
หน้าที่
ช่วยให้มีการเคลื่อนไหวได้สะดวก
ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ป้องกันแรงกระทบของภายนอก
เป็นแหล่งอาหารแก่ทารก
ช่วยให้มีการเปิดขยายของปากมดลูกขณะเข้าสู่ระยะคลอด
พัฒนาการของระบบต่างๆในร่างกายทารก
ระบบหลอดเลือดและหัวใจ
การไหลเวียนเลือดของทารกในครรภ์
การไหลเวียนเลือดของรกด้านมารดา
หัวใจและหลอดเลือด มีการสร้างเม็ดเลือดใน embryo และ fetus สร้างจาก blood island ใน yolk sac ในเดือนที่ 2 จะสร้างจากตับ เดือนที่ 6 จากม้าม thymus gland เดือนที่ 4-5 สร้างจาก bone marrow
Respiratory system สัปดาห์ที่ 11 มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก มีการหายใจ 30-70 ครั้งต่อนาที สัปดาห์ที่ 24 เซลล์ถุงลมปอดสร้างสาร serfactant ช่วยลดความตึงของผนังหลอดลม ถ้าพบอัตราของ lecithin ต่อ sphingomyelin มากกว่า 2:1แสดงว่าทอกทำงานสมบูรณ์
ระบบทางเดินอาหาร
Fore gut เจริญเป็นหลอดลมคอ ทางเดินหายใจส่วนล่าง หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็กส่วนต้น ตับ ตับอ่อน ทางเดินน้ำดี
Mid gut เจริญเป็นลำไส้เล็กส่วนปลาย ลำไส้ใหญ่ส่วน ascending colon และ 2 ใน 3 ของ transverse colon
Hind gut เจริญเป็นส่วนที่ 3 ของลำไส้ และส่วนต้นของ anal canal
สัปดาห์ที่ 12 ลำไส้เริ่มมีการเคลื่อนไหวแบบ peritalsis เริ่มมีการกลืนเกิดขึ้น
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ สัปดาห์ที่ 12 เริ่มสร้างปัสสาวะ และสัปดาห์ที่ 16 เริ่มถ่ายปัสสาวะได้ nephron สามารถขับของเสียผ่าน glomerulus ได้
ระบบประสาท (ดูตามพัฒนาการ)
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก จากสัปดาห์ที่ 8 จนถึงหลังคลอดจะมีการสะสมของ Calcium เริ่มมีการเคลื่อนไหว ครรภ์แรกจะรู้สึก 18-20 wk. ครรภ์หลังจะรู้สึก 16-18 wk.
ระบบสืบพันธุ์ (ดูตามพัฒนาการ)
ระบบภูมิคุ้มกัน 13 wk.พบว่าทารกสามารถสร้าง comprement ในเลือดได้ตั้งแต่ไตรมาสแรก IgG สร้างโดยมารดาส่งผ่านรก
ระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมไทรอยด์เเริ่มสร้างฮอร์โมนเมื่ออายุครรภ์ 10-12 ไาใ ไทรอยด์ ฮอร์โมนมีบทบาทในการพัฒนาอวัยวะแทบทุกส่วนของร่างกายโดยเฉพาะสมอง