Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน (3.ตลาดในระบบเศรษฐกิจ (คนกลางในตลาด…
ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
3.ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ความสำคัญของตลาดใน
ระบบเศรษฐกิจ
ในปัจจุบันถ้าไม่มีตลาดจะเกิดปัญหาตามมามากมาย
ตลาดนั้นเป็นสื่อกลางระหว่างผูผลิตกับผู้บริโภค
ตลาดมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ
ช่วยให้ผู้ผลิตทำการผลิตสินค้าและบริการได้ตรง
กับความต้องการของผู้บริโภค
ช่วยให้ผู้บริโภคมีมาตรฐานครองชีพสูง
ช่วยให้เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวสูงขึ้น
คนกลางในตลาด
พ่อค้าคนกลางในตลาดท้องถิ่น:ทำหน้าที่ซื้อขายในระดับท้องถิ่น
เช่นอำเภอ/จังหวัด
พ่อค้าคนกลางในตลาดปลายทาง:เป็นพ่อค้าซื้อขายสินค้าในตลาดปลายทางเพื่อส่งไปจำหน่ายต่างประเทศ
พ่อค้าคนกลางในตลาดท้องที่:เป็นพ่อค้าคนกลางซื้อขายสินค้าอยู่ในท้องที่ใดท้องทีหนึ่งเช่นในตำบล/หมู่บ้าน
พ่อค้าปลีก:เป็นผู้ที่ขายสินค้าให้กับผู้บริโภคเป็นคนสุดท้าย
ประเภทของตลาด
การแบ่งตลาดตามการดำเนินการของผู้ขาย
แบ่งได้2ประเภท
ตลาดขายส่ง:เป็นตลาดที่มีการขายสินค้าครั้งละมากๆ
ตลาดขายปลีก:เป็นตลาดที่มีการขายสินค้าให้กับผู้บริโภคโดยตรง
การแบ่งตลาดตามกลุ่มของผู้ซื้อ
แบ่งได้5ประเภท
ตลาดผู้ผลิต:เป็นการซื้อสินค้าของผู้ผลิตเพื่อนำไปแปรรูปหรือใช้ในการผลิตสินค้าเพื่อจำหน่ายอีกครั้ง
ตลาดผู้ขายต่อ:เป็นการซื้อสินค้าของผู้ประสงค์จะนำสินค้าไปขายต่อเพื่อจพหน่ายอีกทอดหนึ่ง
ตลาดผู้บริโภค:เป็นกลุ่มผู้บริโภคที่เป็นบุคคลที่ซื้อสินค้าไปเพื่ออุปโภคบริโภค
ตลาดรัฐบาล:เป็นการซื้อสินค้าของหน่วยราชการเพื่อนำไปใช้ในองค์การต่างๆ
ตลาดระหว่างประเทศ:เป็นการซื้อสินค้าระหว่างประเทศผู้ซื้อหรือผู้ขายจะเป็นรัฐหรือเอกชนก็ได้
การแบ่งตลาดตามชนิดของสินค้า
แบ่งได้3ประเภท
ตลาดปัจจัยการผลิต:เป็นตลาดที่มีการซื้อขายปัจจัยการผลิตเพื่อนำไป
ใช้ในการผลิตสินค้าชนิดอื่นๆ
ตลาดเงินและตลาดทุน:เป็นตลาดที่มีการติดต่อตกลงกันเรื่องเงินและทุน
ตลาดสินค้าอุปโภคบริโภค:เป็นตลาดที่มีการซื้อขายโดยผู้ซื้อนำไปบริโภคโดยตรง
การแบ่งตลาดตามลักษณะของการแข่งขัน
ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์:จะเป็นตลาดที่มีราคาสินค้าเหมือนกันหมด
หน่วยธุรกิจสามารถเข้าหรือออกจากธุรกิจการค้าโดยเสรี
การติดต่อซื้อขายจะต้องกระทำโดยสะดวก
ผู้ซื้อและผู้ขายต้องมีความรู้สภาวะตลาด
ซื้อค้าที่ซื้อหรือขายจะต้องมีลักษณะเดียวกัน
มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก
ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างไม่สมบูรณ์
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด:เป็นตลาดที่มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมากต่างมีอิสระ
ตลาดผู้ขายน้อยราย:เป็นตลาดที่มีผู้ขายไม่กี่รายและผู้ขายแต่ละรายจะขายสินค้าจำนวนมาก
ตลาดผูกขาด:เป็นตลาดที่มีผู้ขายเพียงรายเดียวทำให้มีสิทธิเหนือราคาและปริมาณสินค้า
ขนาดของตลาด
ถ้าระบบการติดต่อสื่อสารทั้งโทรศัพท์ การสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ตลาดก็จะมีขนาดที่กว้างขวางมากขึ้น
ลักษณะของสินค้าสินค้าประเภทใดที่เน่าง่ายมีน้ำหนักมากการเคลื่อนย้ายสินค้าก็จะทำได้ยาก
นโยบายของรัฐประเทศใดที่มีการเปิดประเทศมากก็จะช่วยทำให้ตลาดสินค้าของประเทศเหล่านี้กว้างขวางมากขึ้น
5.การกำหนดค่าจ้าง อัตราค่าจ้างแรงงาน
ในสังคมไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง.
เสนอเพื่อพัฒนาะบบค่าจ้าง
กำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำพื้นฐาน
เสนอการกำหนดค่าจ้าง
เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับค่าจ้าง
2.ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
ลักษณะของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เอกชนมีสิทธิในสินค้าและการลิตได้โดยรัฐบาลไม่มีส่วนเข้าไปเกี่ยวข้องทั้งสิ้น
ข้อดี
มีการปรับปรุงเทคนิคการผลิตอยู่เสมอทำให้คุณภาพสินค้าดีขึ้น
มีอิสรเสรีในการใช้ทรัพยากร
เกิดแรงจูงใจในการผลิตและการทำงาน
มีโอกาสบริโภคสินค้าและบริการต่างๆ
ข้อเสีย
ระบบทุนนิยมอาจไม่เหมาะที่จะใช้ทุกสถานการณ์
เกิดการกระรายได้ไม่เท่าเทียม
กรรมสิทธิ์ เอกชนมีสิทธิ์เป็นเจ้าของทรัพยากรต่างๆ ตามกฎหมาย
การดำเนินการผลิตเป็นไปในรูปแบบเอกชน เอกชนมีเสรีภาพในการผลิต การจำหน่าย และการกำหนดราคา
การดำเนินกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ ดำเนินไปโดยผ่านกลไกราคา
การแข่งขัน ถือเป็นปัจจัยสำคัญในการป้องกันการแสวงหากำไรเกินควรมีการแข่งขันทางเศรษฐกิจกันอย่างสูง
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
ข้อดี
ประชาชนได้รับการดูแลเกี่ยวกับสวัสดีการค่อนข้างดี
รัฐจะจัดสรรการกระจายรายได้ได้ดี
ข้อเสีย
ประชาชนไม่มีเสรีภาพอย่างเต็มที่
ขาดแรงจูงใจที่จะกระตุ้นให้ทำการผลิตหรือคิดค้นสิ่งใหม่ๆ
หากนโยบายไม่ดีอาจทำให้การจัดสรรไม่เป็นไปตามหลัก
ลักษณะของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจที่รัฐเข้าไปเป็นผู้ควบคุมดำเนินการผลิต การประกอบการ
รัฐจะเข้าไปควบคุมกิจการสาธารณูปโภค
รัฐจะเข้าไปจัดสวัสดีการให้แก่ประชาชน
รัฐจะควบคุมอุตสาหกรรมขั้นพื้นฐานและอุตสาหกรรมหนักต่างๆ
รัฐจะเข้าควบคุมและโอนกิจการธนาคารทั้งหมดเป
ลักษณะเด่น
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
ข้อดี
สินค้าและบริการมีคุณภาพประชาชนสามารถเลือกบริโภคได้
มีการนำรายได้มาเฉลี่ยให้กับผู้ทำงานตามกำลัง
มีความคล่องตัวในการดำเนินการ
ข้อเสีย
การประสานประโยชน์ระหว่างรัฐกับเอกชนอาจเป็นไปได้ยาก
การดำเนินการของรัฐยังมีประสิทธิภาพไม่มากพอ
แรงจูงใจในการผลิตสินค้าของเอกชนมีไม่มากพอ
ลักษณะของระบบเศรษฐกิจแบบผสม เป็นระบบที่ได้นำเอาลักษณะบางอย่างที่เหมาะสมของระบบเสรีนิยมและระบบสังคมนิยมมาผสมผสานให้เป็นระบบใหม่โดนส่วนนี้จะมีส่วนร่วมในหลายด้าน
1.หน่วยเศรษฐกิจ
ประเภทของหน่วยเศรษฐกิจ
องค์กรรัฐบาล
มีหน้าที่และความสัมพันธ์กับหน่วยงานอื่นๆในระบบเศรษฐกิจ
เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและบริโภคในคราวเดียวกัน
เป็นหน่วยงานของรัฐหรือราชการต่างๆ
มีบทบาทสำคัญ เช่น การเก็บภาษีจากครัวเรือน การออกกฎเพื่อกระตุ้นภาวะเศรษฐกิจ
ธุรกิจ
เป็นกลุ่มบุคคลที่ทำหน้าที่ในการนำปัญจัยการผลิตต่างๆแล้วนำไปจำหน่ายแก่ผู้บริโภคโดยจุดมุ่งหมายที่สำคัญ คือ การแสวงหาผลกำไรสูงสุดจากการประกอบการของตนเอง
ครัวเรือน
เป็นหน่วยเศรษฐกิจที่อาจเป็นบุคคลเดียวหรือหลายคนร่วมใจกันตัดสินใจการใช้ทรัพยากรต่างๆเป้าหมายหลักของกลุ่มครัวเรือนก็คือ การแสวงหาความพอใจสูงสุด
ทุน ผลตอบแทนคือ ดอกเบี้ย
ผู้ประกอบการ ผลตอบแทนคือ กำไร
แรงงาน ผลตอบแทนคือ ค่าจ้าง
ที่ดิน ผลตอบแทนคือ ค่าเช่า
ความสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเศรษฐกิจต่าง ๆ ในระบบเศรษฐกิจ มักแสดงด้วยวงจรการไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ ซึ่งไม่ว่าระบบเศรษฐกิจแบบใดก็จะมีลักษณะคล้ายคลึงกัน
มีการแบ่งหน้าที่กันโดยเด็ดขาด
มีหน่วยเศรษฐกิจที่สำคัญ 2 หน่วย คือ หน่วยครัวเรือนและหน่วยธุรกิจ
เมื่อหน่วยครัวเรือนได้รับค่าตอบแทนมาก็จะนำไปซื้อสินค้าและบริการจากหน่วยธุรกิจอีกทีหนึ่ง จึงทำให้เกิดกระแสวงจรการไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจขึ้น
4.การกำหนดราคา
ในระบบเศรษฐกิจ
บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคาเพื่อการแจกจ่ายและจัดสรรในทางเศรษฐกิจ
บทบาทในการให้การส่งเสริมของรัฐ:ช่วยอำนวยความสะดวกในการลงทุนสู่ภูมิภาคการสร้างความมั่นใจด่วยการรักษาความสงบ
บทบทาททางด้านการจัดการและการควบคุม
การรับจำนำสินค้าเกษตร
การให้การอุดหนุนด้านปัจจัยการผลิต
การประกันราคาและการพยุงราคา
การควบคุมราคาสินค้าอุปโภคบริโภคไม่ให้สูงเกินไป
การกำหนดราคาในเชิงกลยุทธ์
ที่มีในสังคมไทย
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคาสินค้าในทางปฏิบัติ
สภาวะทางเศรษฐกิจ
ต้นทุนการผลิตและการจำหน่าย
สภาวะการแข่งขันในตลาด
กลุ่มเป้าหมายและลักษณะของสินค้า
หลักเกณฑ์ในการกำหนดราคาสินค้าของธุรกิจ
เลือกใช้หลักเกณฑ์ในการกำหนดราคา
วิเคราะห์ว่าคู่แข่งมีจำนวนมากน้อยเท่าไหร่
ประมาณความต้องการซื้อสินค้า
วิเคราะห์ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย
กำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน
ข้อดี-ข้อเสีย:เป้าหมายของผู้ประกอบการอาจจะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละธุรกิจเช่นต้องการยอดขายสูงสุดกำไรสูงสุดการตั้งราคาก็จะแตกต่างกันไปบางธุรกิจตั้งราคาจนสูงทำให้ผู้บริโภคได้รับความเดือดร้อน
การกำหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน
อุปทาน:ปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายที่พร้อมจะผลิตออกขายณระดับราคาต่างๆ
อุปสงค์:ความเต็มใจของผู้ซื้อในการจ่ายเงินซื้อสินค้าในปริมาณต่างๆ
กฎของอุปสงค์:ประชาชนมีความต้องการซื้อสินค้าแต่ละคนจึงมีอุปสงค์ในการซื้อสินค้าเฉพาะของตนเอง
กฎของอุปทาน:การผลิตสินค้าและบริการของผู้ผลิตนระยะเวลาหนึ่งจะขึ้นอยู่กับราคาของสินค้าและบริการนั้นๆ
หลักเกณฑ์ในการกำหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน:ปริมาณสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการซื้อและผู้ขายต้องการขายจะปรับตัวตามระดับของราคาสินค้าที่เปลี่ยนแปลงไปราคาสินค้าลด=ผู้ซื้อมากขึ้น,
ราคาสินค้าเพิ่ม=ผู้ซื้อน้อยลง
การเปลี่ยนแปลงของราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ:
อุปทานอยู่คงที่และอุปสงค์เปลี่ยนแปลงไป
อุปสงค์อยู่คงที่และอุปทานเปลี่ยนแปลงไป