Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักธรรมาภิบาล ความซื่อสัตย์ และความเป็นธรรมทางการศึกษา…
หลักธรรมาภิบาล ความซื่อสัตย์
และความเป็นธรรมทางการศึกษา
ความสาคัญและการพัฒนาความซื่อสัตย์
ความซื่อสัตย์คือผู้มีลักษณะซื่อจริง ตรงจริง เที่ยงจริง แท้จริง แน่นอนจริง แห่งอัธยาศัยและความประพฤติของบุคคล มีอาการเปิดเผยสว่างกระจ่างแจ้งปราศจากมลทินโทษและข้อพิรุธทั้งปวง
•“บุคคลที่ซื่อสัตย์ต่อตนเอง เป็นผู้ไม่โกหกหลอกลวงตัวเอง ไม่เป็นคนโลเล สับปลับ”
•“ไม่เป็นคนทาดีเอาหน้า อาศัยผลของความดีพอกพูนความดี และไม่ทาลายตัวเองด้วยความคดโกง”
•“ไม่กลับกลอก กลับคาตลบตะแลง บิดเบือนหลีกเลี่ยง ต้องมีวาจาสัตย์ ทาให้จริงตามวาจา”
•ถือความซื่อสัตย์เป็นความรับผิดชอบ โดยมิต้องรอให้ผู้อื่นมาชี้จับผิด และตัดสินว่า ซื่อสัตย์ หรือคดโกง จิตสานึกแจ้งด้วยตนเอง ว่าสิ่งประพฤติปฏิบัตินั้น ถูกต้องชอบธรรมหรือไม่
•ความซื่อสัตย์ต้องเริ่มจากเรื่องเล็กน้อย หาใช่ว่าจะกระทบด้วยใจซื่อสัตย์เพียงชั่วครั้งชั่วคราว และก็คดโกงอีก เชื่อถือไม่ได้
หลักสุจริต
สุจริต คือประพฤติชอบตามคลองธรรม หมายถึงประพฤติด้วยตั้งใจดี ประพฤติซื่อตรง
•สุจริต ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต หมายถึง ประพฤติชอบตามคลองธรรม ประพฤติด้วยตั้งใจดี ประพฤติซื่อตรง
•คาว่า “ ซื่อสัตย์สุจริต ” คือ “ ความประพฤติตรงไปตรงมาด้วยความจริงใจ ไม่คดโกงไม่หลอกลวง” และที่สาคัญ คือ ความประพฤติด้วยความตั้งใจดี
•ความซื่อสัตย์สุจริต คือ พื้นฐานของความเป็นธรรมในสังคม•ทุจริตคอร์รัปชันและมีต้นเหตุมาจากพฤติกรรม "ความไม่ซื่อสัตย์สุจริต"
สุจริตความประพฤติดี
กายสุจริต ความประพฤติชอบด้วยกาย
วจีสุจริต ความประพฤติชอบด้วยวาจา
มโนสุจริต ความประพฤติชอบด้วยใจ
ทาดีทำชอบ ซื่อสัตย์ ถูกทานองคลองธรรม
เริ่มจาก
เริ่มที่ตัวเราก่อน อย่าคิดว่าเป็นเรื่องที่ต้องนาโดยรัฐบาล หรือองค์กรใดๆ
จงมั่นคงในความดี ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ใจคดโกง กายวาจาก็คดโกง ด้วย
ให้เริ่มจากสิ่งแม้เล็กน้อย อย่ายินยอมให้ผิดเป็นถูก
ยึดมั่นในความถูกต้อง เป็นตัวอย่างให้กับคนอื่นและทาให้จริงในหน้าที่ส่วนตัว และหน้าที่ที่ได้รับมอบ
ไม่ประมาทเลินเล่อ เกียจคร้าน และไม่หลีกเลี่ยงบิดพลิ้วในหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบ
รักษาคาพูด รักษาสัญญา ไตร่ตรองให้ถี่ถ้วนก่อนพูดหรือรับปาก
ความสาคัญและการพัฒนาความ ชอบธรรม
ความชอบธรรม
ลักษณะ ที่ถูกต้องตามสิทธิ.
ความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความยุติธรรม, ความเป็นธรรม
ธรรมที่ดีงาม สิ่งที่ทาไม่อายฟ้าดิน และ แง่นิติธรรม ปฏิบัติตามกฎหมายกฎระเบียบประเพณี
ความชอบธรรมทางศาสนา คือการประพฤติดาเนินตามคาสอนของศาสดา
ความชอบธรรมทางการเมือง หมายถึงโครงสร้างและกระบวนการทางการเมือง เป็นที่ยอมรับของคนส่วนใหญ่โดยถูกต้องตามกฎกติกาที่คนส่วนใหญ่ยอมรับ
2)“อานาจที่ชอบธรรม” เป็นความเชื่อมั่นของสมาชิกของสังคมในการให้การยอมรับ หรือมุ่งเป้าหมายที่มีคุณค่าของสังคม - อานาจปกครองเชิงบารมี (ให้การยอมรับของประชาชน) - อานาจเชิงจารีตประเพณี (สืบเนื่องยาวนานจากคนรุ่นก่อน) - อานาจเชิงเหตุผลหรือเชิงกฎหมาย(บังคับตามกฎหมาย)
1)“บรรทัดฐานที่ชอบธรรม ความชอบธรรม ที่สังคมยอมรับ โดยยึดเอาเรื่อง “ความดี” เป็นแกนหลักสาคัญ ไม่เน้นแต่เฉพาะเรื่องกฎหมาย
3)ความชอบธรรมทางการเมืองมีองค์ประกอบอยู่ 4 ประการ
การมีแบบแผนและค่านิยมร่วมกันของคนในสังคม
การเข้าสู่อานาจด้วยการทาตามกฎเกณฑ์ที่มีอยู่
การใช้อานาจอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
การให้ความยอมรับในการปกครอง
ความชอบธรรมทางกฎหมาย คือ การมีสิทธิในการกระทานั้น ๆ โดยสมบูรณ์ ไม่ขัดกฎหมายใดๆ
ออกกฎ คาสั่งไม่ชอบด้วยกฎหมาย
-2. นอกเหนืออานาจ หรือไม่มีอานาจ
-3. ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
-4. ไม่ทาตามรูปแบบขั้นตอนอันเป็น สาระสาคัญ ตามที่กฎหมายกาหนด
-5. ไม่สุจริต
-6. ไม่เป็นธรรม เลือกปฏิบัติ
-7. ใช้ดุลพินิจมิชอบ
ธรรมาภิบาล ( Good Governance) หรือ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
รวม 6 คุณลักษณะ
นิติธรรม (หลักกฎหมาย)
เคารพและปฏิบัติตามกฎ กฎหมายระเบียบ แบบแผนและต่างๆ
ไม่ละเมิดอย่างตั้งใจ หรือจงใจหลีกเลี่ยง หรือไม่ตั้งใจเพราะไม่รู้
ถ้าไม่แน่ใจต้องศึกษาก่อนว่าจะผิดหลักนิติธรรม ก่อนที่จะทาลงไปหรือไม่
โจท
2.คุณธรรม (หลักแห่งคุณงามความดี)
•การมีคุณธรรม จะช่วยยกคุณค่าความเป็นมนุษย์ให้สูงขึ้น เป็นที่ยกย่องของคนทั่วไป
•เมตตาธรรม คือความปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข
•กตัญํู กตเวทิตา การรู้จักบุญคุณ และคิดจะตอบแทน
•หิริโอตัปปะ การรู้จักละอาย และเกรงกลัวบาปกรรมไม่ดี
•3.ความโปร่งใส (หลักแห่งความเปิดเผย)
•ตรวจสอบได้ ทุกเรื่องราวในการทางานตามภาระหน้าที่ที่รับผิดชอบอยู่ ตอบข้อสงสัยได้ชัดเจนทุกคาถาม ไม่ปกปิดหมกเม็ดในเรื่องที่ควรเปิดเผยได้
4.การมีส่วนร่วม (หลักของความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง)
ระลึกไว้ว่าตัวเองเป็นสมาชิกถาวรของสถาบันฯ นอกเหนือจากงานในหน้าที่แล้วกิจกรรมอื่นที่มีผลดีต่อสถาบันฯ จะต้องร่วมมือ อะไรที่ไม่ดีต้องทักท้วง
5.ร่วมรับผิดชอบ (ทุกคนรับทั้งผิดและชอบ)
ต่อผลงานที่ทาเอง ทาโดยกลุ่ม ทาในนามสถาบันฯ ถ้าดีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้น ถ้าผิดพลาด บกพร่อง ต้องช่วยกันแก้ไข ไม่วางเฉย
6.ความคุ้มค่า (จุดคุ้มทุน เกิดประโยชน์)
•ทั้งในแง่ของรูปธรรมและนามธรรม ที่สัมผัสจับต้องมองเห็นได้ หรือรู้สึกได้ว่าคุ้มค่าหรือไม่คุ้มค่า
•ถ้าทาตามหลักข้างต้นทั้ง 5 มาครบถ้วนแล้ว แต่เมื่อพิจารณาถึงหลักความคุ้มค่าแล้วไม่ผ่าน ก็ควรทบทวนปรับปรุง แก้ไข เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าต่อผลงานให้มากที่สุด
หลักนิติธรรม
1.เผยแพร่ความรู้เรื่องกฎ ระเบียบของหน่วยงานแก่ผู้รับบริการและประชาชนทั่วไป
2.สร้างจิตสานึกแก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานในการใช้กฎ ระเบียบด้วยความเป็นธรรม
3.ทบทวน ปรับปรุง กฎ ระเบียบ และกระบวนการ การดาเนินการให้เป็นธรรม และทันกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
การจัดระเบียบบ้าน (ครอบครัว) คือจุดเริ่มต้นของการสร้างคุณธรรม
จากคาย่อ FAMILY LOVE
•F/FIRM หมายถึง มั่นคงไว้ใจกัน
•A/AIM คือ จุดมุ่งหมายเดียวกัน
•M/MANNER คือ มีมารยาทให้เกียรติ
•I/INFORM คือ บอกกล่าวกัน
•L/LOVE มีความรักให้กัน
•Y/YOUNG ทาตัวกระชุ่มกระชวย
•L/LOOK มองตนเอง
•O/OPEN เปิดใจกว้างยอมรับ
•V/VOLUNTARINESS อาสาเสนอตัวช่วย
•E/ENJOY สร้างความสุขไม่โทษกัน
ทักษะชีวิตที่สมดุลและสาเร็จ
•
การเรียนรู้
รู้อะไรดี อะไรชั่ว
•2. เรียนรู้เพื่อเอาตัวให้รอด
•3. เรียนรู้เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม
การลงมือปฎิบัติ
4) สามารถตัดสินใจด้วยตนเอง
•5) แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้
•6) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
•7) มีทักษะในการสื่อสารและปฏิเสธสิ่งชั่วร้าย
การสร้างเจตคติและค่านิยมที่เหมาะสม
9) ตระหนักภาคภูมิใจตนเองคิดว่าเป็นปัญหาของตนเองตัวเองต้องแก้ไข
•10) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
•8) บุคคลจะเผชิญชีวิตได้ดีถ้ารู้จักเห็นใจผู้อื่น
11) รู้จักวิเคราะห์เมื่อรับอะไรมาต้องดูให้เห็นทั้งจุดดีและจุดด้อย ดูทุกแง่ทุกมุม