Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคายนำ้ (ลักษณะการลำเลียงนำ้ของต้นพืช (1.ปากใบเปิดเวลากลางวัน, 2…
การคายนำ้
ลักษณะการลำเลียงนำ้ของต้นพืช
1.ปากใบเปิดเวลากลางวัน
2.นำ้ระเหยออกไปทางปากใบ
3.นำ้ในเซลล์ใบน้อยลง
4.ความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์ใบมาก
5.นำ้แพร่เข้าสู่เซลล์ของใบ
6.นำ้แพร่เข้าสู่รากและถูกส่งต่อผ่านลำต้นไปยังใบตลอดเวลา
4.ปัจจัยที่ควบคุมการคายนำ้
1.ความเข้มข้นของแสง แสงสว่างทำให้ปากใบเปิดกว้าง
2.อุณหภูมิ อุณหภูมิสูงมากหรือตำ่มากใบจะปิด
3.ความชื้นในอากาศ ถ้าความชื้นสูงพืชจะคายนำ้ได้น้อย
4.กระแสลบ จะช่วยพัดพานำไอนำ้ที่คายออกมา
5.ปริมาณนำ้ในดิน ถ้าปริมาณมากพืชจะคายนำ้มาก
การคายนำ้คือการสูญเสียของนำ้พืชในรูปของไอนำ้
1.ปากใบแบบธรรมดา(typical stomach) เป็นปากใบโดยมีเซลล์คุม
2.ปากใบแบบจม(sunken stomach) เป็นปากใบที่อยู่ลึกเข้าไปในเนื้อเซลล์คุม
3.ปากใบแบบยกสูง(raised drama) เป็นปากใบที่มีเซลล์คุมอยู่สูง
การคายนำ้ของพืชไปในลักษณะของการแพร่เป็นส่วนใหญ่แบ่งออกเป็น3ประเภท
1.stomatal transpiration เป็นการคายนำ้ที่กำจัดไอนำ้ออกมาทางปากใบใ
2.cuticular transpiration เป็นการคายนำ้ที่กำจัดไอนำ้ออกมาทางผิวใบ
Lenticular transpiration เป็นการคายนำ้ที่กำจัดไอนำ้ออกมาทาง lenticel
การกำจัดนำ้ที่มีปริมาณมากเกินพอออกจากพืช
1.ทางปากใบ ประมาณร้อยละ80-90
2.ทางผิวใบ ประมาณร้อยละ10
3.ทางรอยแตกที่เปลือกไม้
5.ความสำคัญของการคายนำ้
1.ทำให้รากดูดนำ้
2.ช่วยลดอุณหภูมิที่ใบ
3.การคายนำ้ทำให้บรรยากาศเกิดความชุ่มชื้น
กิตเตชัน คือ การกำจัดนำ้ในรูปหยดนำ้
1.ลักษณะของปากใบ ประกอบด้วยเซลล์คุม
2.บริเวณที่พบปากใบของพืชชนิดต่างๆพืชบกจะพบปากใบทางด้านล่างของใบ
1.ปัจจัยในการควบคุมการคายนำ้
-แสงสว่าง จะช่วยในการคายนำ้ที่อัตราสูง
-อุณหภูมิ จะขอบรรยาอากาศสูงจะทำให้ใบคายนำ้ได้มาก
-ความชื้น ความชื้นในบรรยากาศมีน้อยคืออากาศแห้ง
-ลม โดยทั่วไปทำให้พืชคายนำ้ได้มากขึ้น
-ความกดดันของบรรยากาศ ความกดดันของบรรยากาศตำ่
-ลักษณะและโครงสร้างของใบ โครงสร้างของใบที่ไม่เหมือนกัน