Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมเด็จพระรามาธิบดีที่๑ โดยต้นไผ่ (พระกรณียกิจพระเจ้าอู่ทอง…
สมเด็จพระรามาธิบดีที่๑ โดยต้นไผ่
พระกรณียกิจพระเจ้าอู่ทอง
เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือพระเจ้าอู่ทองทรงสถาปนาอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
การจัดระเบียบการปกครองแบบจตุสดมภ์
การประกาศใช้กฎหมายและจัดระบบการศาล
การขยายอำนาจไปยังอาณาจักรสุโขทัย
การขยายอำนาจไปยังอาณาจักรเขมร
มีการติดต่อค้าขายกับจีน
ประวัติ
เกิดเมื่อ: 10 มีนาคม 1857, อำเภอเมืองสุพรรณบุรี
เสียชีวิตเมื่อ: พ.ศ. 1912, เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา
ชื่อเต็ม: Ramathibodi I
คู่สมรส: ภุมมาวดีเทวี (สมรส พ.ศ. 1893–พ.ศ. 1912)
บุตร: สมเด็จพระราเมศวร
หลาน: สมเด็จพระเจ้ารามราชา
แนวความคิด
แนวความคิดที่ 1
จดหมายเหตุลาลูแบร์ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ ระบุว่าพระเจ้าอู่ทองอพยพมาจากเชียงแสน
แนวความคิดที่ 2
จดหมายเหตุวันวลิตระบุว่าทรงอพยพมาจากเมืองเพชรบุรี
แนวความคิดที่ 3
ชินกาลมาลินีและพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ว่าพระเจ้าอู่ทองมาจากละโว้
พระเจ้าอู่ทอง องค์นี้ เป็นพระโอรสของพระเจ้าศิริชัย หรือ ศรีวิชัย สมภพ เมื่อ (จากหมายเหตุโหร) วันจันทร์ ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 5 จ.ศ. 676 พ.ศ.1857
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)ครองราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 1893 - 1912 รวมเวลาที่ครองราชย์ 19 ปี
พระปรมาภิไธย
สมเด็จพระรามาธิบดี (หลังจากขึ้นครองราชย์)
พระเจ้าอู่ทอง (กษัตริย์ผู้ครองเมืองอู่ทองแคว้นสุพรรณภูมิ)
สมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสินทร บรมมหาจักรพรรดิศรราชาธิราช (ในโองการแช่งน้ำ)
สมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสุนทรบรมจักรพัตราธิราช (ในกฎหมายลักษณะอาญาราษฎร์)
สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสุรินทร บรมจักรพรรดิศร บวรมหาธรรมิกราชาธิราช (ในกฎหมายลักษณะอาญาหลวง)
พระราชกรณียกิจ
1.พระราชบัญญัติลักษณะอาญาหลวง
2.พระราชบัญญัติลักษณะรับฟ้อง
3.พระราชบัญญัติลักษณะลักพา
4.พระราชบัญญัติลักษณะอาญาราษฎร์
5.พระราชบัญญัติลักษณ์โจร
6.พระราชบัญญัติเบ็ดเสร็จว่าด้วยที่ดิน
7.พระราชบัญญัติลักษณะผัวเมีย
8.พระราชบัญญัติลักษณะโจรว่าด้วยโจร
พระราชบัญญัติลักษณะพยาน
ตรากฎหมาย
ปัจจัยที่เอื้ออำนวยต่อการสถาปนาอยุธยา
บริเวณนี้ความอุดมสมบูรณ์ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำ 3 สาย ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำ ป่าสัก และแม่น้ำลพบุรี เหมาะแก่การทำเกษตรกรรม การประมง การคมนาคม และการค้าขาย
เป็นศูนย์กลางคมนาคมทางน้ำ เดินทางไปยังหัวเมืองภาคเหนือ ใช้แม่น้ำปิง วัง ยม น่าน และแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นทางออกสู่ทะเล เพื่อค้าขายและติดต่อกับต่างประเทศ
ความมั่นคงทางยุทธศาสตร์ คือ การป้องกันการบุกรุกของข้าศึก ซึ่งสภาพพื้นที่เป็นเกาะมีแม่น้ำและลำคลองล้อมรอบ ในฤดูน้ำหลากน้ำจะท่วมภายนอกข้าศึกไม่สามารถตั้งทัพต่อไปได้
การสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในขณะนั้นอาณาจักรสุโขทัยเสื่อมอำนาจ และอาณาจักรขอมพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สวรรคต
พระมหากษัตริย์มีพระปรีชาสามารถ และมีกองกำลังทหารที่ดี ประชาชนอาศัยในบริเวณพระนครจำนวนมาก เมื่อเกิดสงครามสามารถเรียกเกณฑ์ไพร่พลได้ทันที
กรุงศรีอยุธยามีทรัพยากรมาก ป่าไม้ สัตว์ป่า แร่ธาตุ และแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์
เมืองสุพรรณบุรี เมืองละโว้ ร่วมมือสนับสนุนรวมกันเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจเข้มแข็งได้