Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างการคายน้ำ (การคายน้ำ(transpiration) (บริเวณที่พบปากใบของพืชชนิดต่…
โครงสร้างการคายน้ำ
การคายน้ำ(transpiration)
ทางปากใบ(sonata transpiration)
ทางรอยแตกที่เปลือกไม้(lenticular transpiration)
ทางผิวใบ(curricular transpiration)
ลักษณะของปากใบ
ปากใบ(stoma)
ประกอบด้วยเซลล์คุม(guard cell)
1คู่ มีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว
บริเวณที่พบปากใบของพืชชนิดต่างๆ
พืชบกจะพบปากใบทางด้านล่างของใบ
พืชปริ่มน้ำ
บัวลาย
ปากใบจะอยู่ด้านบนของใบ
พืชที่กันดาร
(xerophyle)
สนเกี๊ยะปากใบจะจมลึก
พืชจมน้ำ
สาหร่ายหางกระรอกจะไม่มีปากใบ
กลไกลการเปิด-ปิดปากใบ
ขึ้นอยู่กับการเพิ่มหรือลดแรงดังเต่ง
ปัจจัยที่ควบคุมการคายน้ำ
ความเข็มข้นของแสง
อุณหภูมิ
ความชื้นในอากาศ
กระแสลม
ปริมาณน้ำในดิน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของพืช
เกิดขึ้นในกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง และการหายใจ
เลนทิเซล(lenticular)
เป็นรอยแตกที่เปลือกไม้
การแลกเปลี่ยนแก๊สที่ราก
การแลกเปลี่ยนแก๊สภายในใบและสิ่งแวดล้อม
ความสำคัญของการคายน้ำ
ทำให้รากดูดน้ำ
ช่วยลดอุณหภูมิที่ใบ
การคายน้ำทำให้บรรยากาศ
เกิดความชุ่มชื่น