Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.2 อุปกรณ์ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์ (3.) เซ็นเซอร์ (Sensor) (3.1…
5.2 อุปกรณ์ไฟฟ้า
และ
อิเล็กทรอนิกส์
2.) อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronics)
2.1 ตัวต้านทาน(Resistor)
ตัวต้านทานคงที่
(Fixedresistor)
เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานของการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าคงที่
แอลดีอาร์
(Light Dependent Resisor : LDR
เป็นตัวต้านทานที่เปลี่ยนค่าได้ โดยค่าความต้านทาน เปลี่ยนไปตามปริมาณแสงที่ตกกระทบ
2.2 ตัวเก็บประจุ
(Capacitor)
ตัวเก็บประจุประเภทอิเล็กโทรไลท์
ใช้ในงานที่ต้องการค่าความต้านทานของฉนวนที่มีค่าสูงและเสถีนรภาพดีในสภาพแวดล้อมที่อุณหภูมิสูง
ตัวเก็บประจุประเภทเซรามิก
เป็นตัวเก็บประจุที่ใช้เซรามิกเป็นไดอิเล็กตริกและเก็บประจุได้ไม่เกิน1ไมโครฟารัดนิยมใช้กันทั่วไป มีราคาถูก
2.3 ไดโอด
(Diode)
ไดโอดธรรมดา
(Normaldiode)
ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าให้ผ่านทางเดียว ไดโอดมีขั้วไฟฟ้าบวกและขั้วไฟฟ้าบวล
ไดโอดเปล่งแสง
(Light Emitting Diode : LED)
ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง โดยสามารถเปล่งแสงออกมาได้เมื่อได้รับกระแสไฟฟ้า
1.) มอเตอร์ (Motor)
มอเตอร์สามารถแบ่าตามกระแสไฟฟ้า
ได้ 2 ประเภท
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
หรือ
ดี.ซี มอเตอร์
(D.c motor)
เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง เช่น เซลล์ไฟฟ้า หรือแบตเตอรี่ มอเตอร์สามารถควบคุมการหมุนให้ตามเข็มนาฬิกา และทวนเข็มนาฬิกา หรือหยุดหมุนได้ง่าย
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ
หรือ
เรียกว่า เอ.ซี มอเตอร์
(A.c motor)
มอเตอร์แบบหนึ่งเฟส
เป็นมอเตอร์ขนาดเล็กกำลังพิกัดต่ำกว่า1แรงม้า ขนาดใหญ่สุดไม่เกิน5แรงม้า [มีสายไฟฟ้าเข้า2สายแรงม้าไม่สูงส่วนใหญ่ตามบ้านเรือน]
มอเตอร์แบบสามเฟส
เป็นมอเตอร์ที่ใช้ในอุตสาหกรรม มีสายไฟฟ้าเข้ามอเตอร์3สาย มีกำลังต่ำกว่า1แรงม้าจนถึงขนาดแรงม้ามาก
นิยมใช้งาน เช่น ขับลูกกลิ้งโรงงานถลุงเหล็ก
3.) เซ็นเซอร์ (Sensor)
3.1 เซ็นเซอร์ตรวจจับการสัมผัส (Touch sensor)
สวิตช์กลไก
เป็นอุปกรแบบกลไก
ทำหน้าที่ตัด ต่อวงจรไฟฟ้า
เมื่อได้รับแรงกด
รีดสวิตช์
ทำหน้าที่เป็นสวิตช์ ที่ควบคุม
การเปิด-ปิดจากการตรวจจับความเข้มของสนามแม่เหล็กแทนการกด
3.2 เซ็นเซอร์ตรวจจับแสง (Optical sensor)
แอลดีอาร์
ตัวต้านทานแปรค่าตามความสว่างของแสงจึงใช้เป็นตัวรับรู้ความสว่าง
โฟโตไดโอด
เป็นเซ็นเซอร์แสงที่ทำหน้าที่เปลี่ยนแสงให้เป็นพลังงานไฟฟ้า
3.3 เซ็นเซอร์ตรวจจับอุณหภูมิ (Temperature sensor)
อาทีดี
ใช้หลักการที่ค่าความต้านทานมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับค่าอุณหภูมิมันใช้ในงานอุตสาหกรรม เนื่องจากมีราคาแพง
เทอร์โมคัปเปิล
ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานไฟฟ้าจึงมักจะประยุกต์ใช้ในการตรวจวัดอุณหภูมิ
3.4 เซ็นเซอร์ตรวจจับเสียง (Sound sensor)
คอนเดนเซอร์ไมโครโฟน
เปลี่ยนเสียงเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจะขึ้นอยู่กับค่าความดังและความถี่เสีย
อัลตราโซนิกเซ็นเซอร์
เปลี่ยนเสียงเป็นพลังงานไฟฟ้าเช่นเดียวกับคอนเดนเซอร์ไมโครโฟน แต่จะตอบสนองช่วงความถี่ประมาณ 38-40กิโลเฮิรซ์
นางสาวชาลินีย์ ศรีระอุดม ม.4/9 เลขที่ 16
นางสาวเสาวลักษณ์ มีทรัพย์ ม.4/9 เลขที่ 15