Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลําเลียงสารอาหาร (กลไกของการลำเลียงไปทาง Phloem (2.การลำเลียงเป็นไปได้ท…
การลําเลียงสารอาหาร
กลไกของการลำเลียงไปทาง Phloem
2.การลำเลียงเป็นไปได้ทั้งสองทาง มีทั้งขึ้นและลง อาจจะขึ้นคนละเวลาก็ได้
3.สามารถลำเลียงได้เป็นปริมาณมากๆ
1.เซลล์ต้องมีชีวิต เพราะถ้าเซลล์ของ Phloem ตายไปการลำเลียงก็หยุดชะงักลงทันที
4.อัตราความเร็วของการลำเลียงสูง การลำเลียงประเภทนี้เกิดขึ้นด้วยความเร็วสูง
5.การลำเลียงเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว บางเวลาเกิดขึ้นเร็ว บางเวลาก็เกิดขึ้นได้ช้า ก็ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาของวัน (กลางวันหรือกลางคืน)
กระบวนการลำเลียงสารอาหาร
2.กาดูดซับน้ำทำให้แรงดันน้ำเพิ่มขึ้น
จึงไปดันสารในซีฟทิวป์ให้ไหลไปตามท่อ
4.น้ำเข้าสู่ไซเลมซึ่งจะลำเลียงจากแหล่งรับไปยังแหล่งสร้างอีก
1.การลำเลียงซูโครสจากแหล่งสร้างเข้าสู่ซีฟทิวป์
ทำให้วอเตอร์โพแทนเชียลในชีฟทิวป์ลดลง
3.เมื่อซูโครสเคลื่อนย้ายออกจากซีฟทิวป์ไปยังแหล่งรับ
แรงดันในซีฟทิวป์ลดลง
น้ำจะออสโมซิสออกสู่เซลล์ข้างเคียงที่แหล่งรับ
กระบวนการลำเลียงสารอาหาร
ส่วนหนึ่งของน้ำตาลที่พืชสร้างขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
จากนั้นซูโครสจะเคลื่อนย้ายออกจากเซลล์ที่เป็นแหล่งสร้างไปยังโฟลเอ็ม
สารละลายน้ำตาลซูโครสก็จะออกจากซีฟทิวป์ไปสู่เซลล์เนื้อเยื่อต่างๆ
การลำเลียงทาง Phloem
ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ
ปริมาณของออซิเจน
ถ้าอุณหภูมิต่ำออกซิเจนน้อย
การลำเลียงจะเกิดขึ้นช้าหรืออาจไม่เกิดเลย
ถ้าอุณหภูมิสูงและมีออกซิเจนเพียงพอ
การลำเลียงดังกล่าวก็จะเกิดขึ้นเร็ว
กระบวนการลำเลียงสารอาหาร
สังเคราะห์ด้วยแสง
เกิดการเปลี่ยนน้ำตาลคลูโคส ในไซโทรพลาซึม
ซีฟทิวป์ของโฟลเอ็ม
ความเข้มข้นของสารละลายต้นทางสูงขึ้น
น้ำออสโมซิสเข้ามาบริเวณต้นทาง
บริเวณต้นทางที่มีสารละลายอยู่ก็เกิดแรงดันมากเพิ่มขึ้น
สารละลายจะถูกดันด้วยแรงดันให้ลำเลียงไปตามท่อโฟลเอ็ม จนถึงบริเวณปลายทาง