Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์ (ขอบเขตของการอนามัยเจริญพันธุ์ในประเทศไทยท…
การส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์
ขอบเขตของการอนามัยเจริญพันธุ์ในประเทศไทยที่มีผลต่อสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ควรส่งเสริม ดังนี้
การวางแผนครอบครัว
การอนามัยแม่และเด็ก
โรคเอดส์
มะเร็งระบบสืบพันธุ์
การแท้งและภาวะแทรกซ้อน
ภาวะมีบุตรยาก
เพศศึกษา
อนามัยวัยรุ่น
ภาวะหลังวัยเจริญพันธุ์และผู้สูงอายุ
การบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ควรจัดให้ในสถานบริการระดับต่างๆของรัฐ
1.ระดับ รพ.สต.
ให้คำปรึกษาก่อนสมรสและการตั้งครรภ์
การปรึกษาและให้การดูแลสุขภาพวัยรุ่นและเยาวชน
ให้บริการดูแลสุขภาพของสตรีวัยเจริญพันธุ์ในรายที่ไม่มีภาวะเสี่ยง
บริการดูแลรักษาเบื้องต้นสำหรับผู้ที่แท้งบุตรแล้วส่งไปพบแพทย์
ให้การดูแลสุขภาพอนามัยของทารกและเด็ก
ให้การตรวจรักษาเบื้องต้นสำหรับโรคที่เกิดจากการอักเสบในระบบอวัยวะสืบพันธุ์
ให้บริการการตรวจการติดเชื้อเอดส์
ให้บริการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ให้บริการส่งต่อผู้ป่วย
2.ระดับโรงพยาบาลชุมชน
รับฝากครรภ์ดูแลการคลอดและตรวจหลังคลอด
การให้บริการคุมกำเนิด
การทดสอบการตั้งครรภ์
ให้คำปรึกษาการมีบุตรยาก
ตรวจหาให้การวินิจฉัยและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
3.ระดับโรงพยาบาลจังหวัด/โรงพยาบาลศูนย์
ให้บริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์โดยเน้นผู้ที่เป็นแม่ใหม่
รับฝากครรภ์
ตรวจหลังคลอด
ให้คำปรึกษาเรื่องการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ให้คำปรึกษาการวางแผนครอบครัวและให้บริการคุมกำเนิดทุกวิธี
ให้การดูแลผู้ที่แท้งบุตร
ให้การดูแลรักษาผู้ที่มีการอักเสบติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์
ตรวจหาและให้คำปรึกษาแก่ผู้ที่ติดเชื้อเอดส์
ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
หลักการให้คำปรึกษาก่อนสมรส และหลักการให้คำปรึกษาทางพันธุกรรม
การให้คำปรึกษาก่อนการสมรส
1.เป้าหมาย
ให้สตรีมีความรู้ความเข้าใจถูกต้องเกี่ยวกับการคุมกำเนิด ตั้งครรภ์และการเป็นมารดา สามารถวางแผนการตั้งครรภ์ในระยะเวลาที่เหมาะสม
เพื่อตรวจคัดกรองความเสี่ยงและโรคต่างๆที่อาจมีผลต่อการตั้งครรภ์หรือทารกและให้การดูแลรักษาก่อนตั้งครรภ์
2.แนวทางการพยาบาล
การให้ความรู้ และคำปรึกษาแก่สตรีที่กำลังเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์และสตรีวัยเจริญพันธุ์และครอบครัว
การให้บริการคลินิกเตรียมความพร้อมก่อนการสมรสและก่อนตั้งครรภ์
3.บทบาทพยาบาล
การประเมินภาวะเสี่ยงก่อนการตั้งครรภ์
ประเมินภาวะสุขภาพอนามัยเจริญพันธุ์
การประเมินประวัติการเจ็บป่วย
การประเมินประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
การประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินภาวะเศรษฐกิจ
การตรวจสุขภาพร่างกาย
การให้คำปรึกษาแนะนำ
การให้การรักษาและภูมิคุ้มกันโรคที่จำเป็น
การให้คำปรึกษาปัญหาทางพันธุกรรม
1.เป้าหมายของการให้การปรึกษาทางพันธุกรรม คือ การช่วยเหลือครอบครัวให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพที่ดี
2.ข้อควรปฏิบัติในการให้คำปรึกษาโรคทางพันธุกรรม
ให้การปรึกษาโดยมุ่งประโยชน์ของครอบครัว
ให้คู่สมรสรับการปรึกษาพร้อมกันเพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ตรงกัน
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมขณะให้การปรึกษา
ระยะเวลาในการให้การปรึกษาเกี่ยวกับโรคพันธุกรรมที่เหมาะสม
กลุ่มเป้าหมาย
คู่สมรสที่มีบุตรหรือญาติที่มีความผิดปกติแต่กำเนิด Congenital abnormalitise
ครอบครัวที่มีปัญหาสุขภาพ Familial disorder
ครอบครัวที่ทราบแน่ชัดว่ามีโรคติดต่อทางพันธุกรรม Know inherited disorder
ครอบครัวที่สมาชิกมีประวัติความผิดปกติเกี่ยวกับโรคการเผาผลาญแต่กำเนิด Matabolic disoeder
ครอบครัวที่เป็นพาหะของโรคธาลัสซีเมีย
ครอบครัวที่มีประวัติเคยคลอดบุตรที่มีโครโมโซมผิดปกติ
กระบวนการให้คำปรึกษาโรคทางพันธุกรรม
สร้างสัมพันธภาพ
การสำรวจปัญหา
การเข้าใจปัญหา สาเหตุ และความต้องการ
หลักการอธิบายเกี่ยวกับการคาดคะเนภาวะเสี่ยงอก่ครอบครัวผู้ให้การปรึกษาควรปฏิบัติ ดังนี้
ไม่ความแสดงความคิดเห็นส่วนตัวหรือแสดงการตัดสินใจ
ผู้ให้การปรึกษาให้ข้อมูลที่เหมาะสมแก่ครอบครัว
การให้ข้อมูลควรคำนึงถึงความต่อเนื่องของข้อมูล
การวางแผนแก้ปัญหาโดยกำหนดวัตถุประสงค์และวิธีการปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมาย
การยุติการให้การปรึกษา