Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ(Object-Oriented Programming: OOP)…
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ(Object-Oriented Programming: OOP)
การที่สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ไขปัญหาที่เป็นวัตถุ
สร้างขึ้นโดยการเขียนโปรแกรมและกระบวนคำสำ่มีแนวโน้วว่าจะเกิดความซับซ้อนสูงส่งผลให้แก้ไขการเปลี่ยนแปลงแก้ไข
เขียนโปรแกรมแบบเดิมใช้ออกแบบจากบนลงล่าง (top Down Approach)
ประการหนึ่งคือ ไม่มีความยืดหยุ่นของการนำโปรแกรมที่เขียนแล้ว กลับไปใช้ใหม่ ฟังก์ชันที่มีอยู่ในโปรแกรมเดิมอาจไม่มีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้กับโปรแกรมใหม่ เพราะฟังก์ชันนั้นถูกออกแบบให้ใช้กับการแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งเท่านั้น ตรงข้ามกับการออกแบบโปรแกรมโดยให้ความสำคัญกับวัตถุเป็นหลักซึ่งเป็นการออกแบบจากล่างขึ้นบน (Bottom-Up Approach)
สร้างบ้านก่อน เช่นใช้ไม้ หรือ ปูนในการสร้าง ประตูไม้หรือ พลาสติก มีขนาดมาตราฐานเท่าใด หน้าต่างแบบใด
ข้อดีของการออกแบบเชิงวัตถุคือ โปรแกรมที่ถูกออกแบบแล้วสามารถแก้ไขได้ง่ายเพราะวัตถุแต่ละชิ้นมีความเป็นอิสระต่อกันและวัตถุที่สร้างขึ้นมาแล้วสามารถนำกลับไปใช้ใหม่ได้อีก
คุณลักษณะเด่นของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุแบ่งเป็น 4 ส่วนคือ
Abstraction คือการกำจัดข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องทิ้งไป โดยให้เหลือข้อมูลที่ต้องการเพียงพอต่อการแก้ปัญหาเท่านั้น
Encapsulation การนำ Operation หรือการเข้ารวมเป็นส่วนหนึ่งของวัตถุ เพื่อซ่อนรายละเอียดที่ไม่เกี่ยวข้อง และลดความซับซ้อนของวัตถุตอนเวลานำไปใช้งาน
Inheritance หมายถึง การสร้างคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่มีอยู่แล้วโดยมีการถ่ายทอดคุณสมบัติของคลาสหลักมา
Polymorphism การอนุญาตตั้งชื่อฟังก์ชันให้ซ้ ากันได้ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ Overloading และ Overriding
วัตถุ(objest)
1) คุณลักษณะ (attribute) หรือข้อมูล (data)
2) เมธอด (method) หรือพฤติกรรม (behavior)
3) คุณลักษณะ (attribute) หรือข้อมูล (data) ข้อมูลของ Object แต่ละ Object อาจมีข้อมูลที่แตกต่างกัน
4) เมธอด (method) หรือพฤติกรรม (behavior) สิ่งที่ Object สามารถกระทำได้
คลาส (Class)
Class หมายถึงโครงสร้างของ object โดย class เป็นตัวกำหนดว่า object นั้นจะมี data หรือคุณลักษณะอะไร บ้าง และมี method อะไรบ้าง เปรียบเสมือนพิมพ์เขียว (template) ของออปเจ็ค
– ออปเจ็คที่ถูกสร้างมาจากคลาส (class) บางครั้งเรียกว่าเป็น instance ของคลาส คลาสหนึ่งคลาสสามารถสร้าง
– Object นั้นจะถูกสร้างขึ้นตามกระบวนการทำงานของ JVM โดยที่นักพัฒนาจะต้องนิยาม Class ที่ต้องการ
ให้กับ JVM